17032651

ระบบป้องกันฟ้าผ่าที่ดีควรเป็นอย่างไร ปี 2023

หมวดหมู่สินค้า: A228 ระบบป้องกันฟ้า

31 มีนาคม 2566

ผู้ชม 144 ผู้ชม

จำหน่ายระบบป้องกันฟ้าผ่าติดตั้งระบบป้องกันฟ้าผ่า ติดตั้งสายล่อฟ้า สายล่อฟ้า 
ระบบป้องกันฟ้าผ่า ติดตั้งระบบป้องกันฟ้าผ่า ติดตั้งสายล่อฟ้า
การติดตั้งสายล่อฟ้า
ติดตั้งสายล่อฟ้า
รับติดตั้งสายล่อฟ้าราคา
สายล่อฟ้าราคา
ติดตั้งหัวล่อฟ้า
ติดตั้งซ่อมแซมระบบล่อฟ้า
ติดตั้งอุปกรณ์ล่อฟ้า

                           ติดต่อสอบถาม
 
 
ระบบป้องกันฟ้าผ่าที่ดีควรเป็นอย่างไร
 
คำตอบ : ระบบป้องกันฟ้าผ่ามีส่วนประกอบที่สำคัญๆ สามารถแบ่งได้เป็น 3 ส่วนดังนี้
1. หัวล่อฟ้า ( Air-terminal )
2. ตัวนำลงดิน ( Down Conductor/Down Lead )
3. แท่งกราวด์ฟ้าผ่า ( Lightning Ground )
 
1. หัวล่อฟ้า ( Air-terminal ) ในกรณีที่เกิดฟ้าผ่าขึ้นหัวล่อฟ้าจะเป็นตำแหน่งที่เราต้องการให้ฟ้ามาผ่าลง ดังนั้นหัวล่อฟ้าจึงควรติดอยู่ในตำแหน่งที่สูงสุดเท่าที่จะสามารถทำได้ เช่น อยู่เหนือจากจุดที่สูงที่สุดของอาคาร ( เสาอากาศทีวี, เสาอากาศวิทยุ, แท๊งค์น้ำ ฯลฯ ) ขึ้นไปอย่างน้อย 2 เมตร (ตามมาตรฐานของบริษัทสตาบิล) ตัวหัวล่อฟ้าควรทำด้วยโลหะที่มีคุณสมบัติการเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี ทนต่อการหลอมละลาย เช่น แท่งทองแดง แท่งสเตนเลส แท่งทองแดงชุบดีบุก แท่งเหล็ก หรือวัสดุตัวนำอื่นๆ ซึ่งการพิจารณาวัสดุที่นำมาใช้ สามารถพิจารณาได้จากพื้นที่ที่ติดตั้ง เช่น กรณีอยู่ใกล้ทะเลควรใช้วัสดุที่สามารถทนการกัดกร่อนได้ดี หรือพิจารณาจากงบประมาณที่ตั้งไว้เป็นต้น การติดตั้งหัวล่อฟ้าจะต้องไม่มีส่วนหนึ่งส่วนใดของหัวล่อฟ้าเชื่อมต่อกับตัวอาคาร ทั้งนี้เพื่อลดผลกระทบจากฟ้าผ่า ที่อาจเกิดขึ้นกับตัวอาคารและระบบไฟฟ้าในอาคารของท่าน ตัวหัวล่อฟ้าควรมีลักษณะเป็นปลายแหลม เนื่องจากจะมีคุณสมบัติในการถ่ายเทประจุไฟฟ้าในอากาศได้ดี และควรมีเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 3/8 นิ้ว ยาวไม่น้อยกว่า 10 นิ้ว ( ตามมาตรฐาน UL96) ทั้งนี้เพื่อให้สามารถรองรับกระแสฟ้าผ่าขนาดใหญ่ได้ดี
 
2. ตัวนำลงดิน ( Down Conductor/Down Lead ) ควรใช้สายตัวนำที่มีคุณสมบัติในการนำไฟฟ้าได้ดี ทนต่อการหลอมละลาย เช่นสายไฟ THW, สายทองแดงเปลือย, สายเหล็ก หรือสายตัวนำอื่นๆ ขนาดพื้นที่หน้าตัดไม่น้อยกว่า 70 มม2.(ตามมาตรฐานของบริษัทสตาบิล) ซึ่งการพิจารณาวัสดุที่นำมาใช้ สามารถพิจารณาได้จากพื้นที่ เช่นกรณีอยู่ใกล้ทะเลควรใช้วัสดุ ที่สามารถทนการกัดกร่อนได้ดี พิจารณาจากความยากง่ายในการติดตั้ง และจากงบประมาณที่ตั้งไว้เป็นต้น การต่อลงดินควรหาแนวเดินสาย ( จากหัวล่อฟ้าจนถึงแท่งกราวด์ฟ้าผ่า ) ที่สั้นที่สุดและเป็นแนวเส้นตรงที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ทั้งนี้เพื่อลดการเกิด Flash over เข้าบริเวณด้านข้างของอาคาร การต่อสายตัวนำลงดินควรใช้ Down-lead Support ชนิดลูกถ้วย Ceramic ในการยึดสาย ทั้งนี้เพื่อให้ระบบนำลงดิน แยกจากตัวอาคารได้อย่างแท้จริง
 
3. แท่งกราวด์ฟ้าผ่า ( Lightning Ground ) ท่านสามารถดูได้จากกระทู้ก่อนหน้านี้ ในหัวข้อเรื่อง กราวด์ลึกมีหลักการทำงานอย่างไร ในปัจจุบันหัวล่อฟ้าที่ใช้กันอยู่ในท้องตลาดมีอยู่หลายชนิดด้วยกัน เช่น หัวล่อฟ้าแบบ Faraday, หัวล่อฟ้าแบบ Early Streamer Emission, หัวล่อฟ้าแบบ Radio Active, หัวล่อฟ้าแบบร่ม และหัวล่อฟ้าแบบอื่นๆ เป็นต้น ซึ่งตามที่บริษัท สตาบิล จำกัด ได้กล่าวมาข้างต้น และจะขอแนะนำนั้น เป็นหัวล่อฟ้าแบบ Faraday ซึ่งหัวล่อฟ้าแบบ Faraday นี้ เป็นหัวล่อฟ้าแบบที่สามารถใช้งานได้ดี มีราคาถูก และเป็นที่นิยมใช้กันแพร่หลายโดยทั่วไป มีมุมในการป้องกันฟ้าผ่าโดยเฉลี่ยประมาณ 45 องศา ( วัดจากปลายสุดของหัวล่อฟ้า ) จากประสบการณ์ของบริษัทสตาบิลที่ผ่านมาพบว่า การนำหัวล่อฟ้าแบบ Faraday มาต่อใช้งานร่วมกับระบบกราวด์ฟ้าผ่าแบบกราวด์ลึก จะทำให้ประสิทธิภาพและมุมในการป้องกันฟ้าผ่ามีมากยิ่งขึ้น เนื่องจากหัวล่อฟ้าจะสามารถถ่ายเทประจุไฟฟ้าระหว่างดินและประจุไฟฟ้าในอากาศผ่านแท่งกราวด์ฟ้าผ่าแบบกราวด์ลึกได้ดียิ่งขึ้นนั่นเอง
 
การติดตั้งระบบป้องกันฟ้าผ่า จุดเชื่อมต่อทุกจุด เช่น ระหว่างหัวล่อฟ้ากับสายตัวนำลงดิน และระหว่างสายตัวนำลงดินกับแท่งกราวด์ฟ้าผ่า จะทำการเชื่อมต่อด้วยวิธีหลอมละลายเนื้อโลหะเข้าด้วยกัน ( Exothermic Welding ) ซึ่งการเชื่อมต่อด้วยวิธีหลอมละลายเนื้อโลหะเข้าด้วยกันนี้ จะทำให้การถ่ายเทกระแสฟ้าผ่า ซึ่งเป็นกระแสไฟฟ้าขนาดใหญ่ในระยะเวลาอันสั้นมีประสิทธิภาพสูงสุด จึงทำให้การเกิดผลกระทบจากฟ้าผ่าต่อตัวอาคารและระบบไฟฟ้า ในอาคารของท่านลดน้อยไปด้วยเช่นกัน
 
Surge Protector ในรางปลั๊กไฟที่ขายทั่วไปป้องกันไฟกระโชกได้หรือไม่ ?
 
คำตอบ : อุปกรณ์ Surge Protector ที่ติดตั้งในปลั๊กรางป้องกันไฟกระโชกทั่วไป สามารถใช้ป้องกันไฟกระโชกแบบพื้นฐานได้ คือเป็นไฟกระโชกแบบช่วงสั้นหรือที่เรียกว่า Transient แต่ไม่สามารถป้องกันไฟกระโชกแบบช่วงยาว หรือที่เรียกว่า TOVs (Temporary Over Voltages) ซึ่งการเกิดไฟกระโชกแบบช่วงยาว คือการเกิดไฟกระโชกที่มีระยะเวลาการเกิดนานจาก mSec ถึง a few seconds ซึ่งอุปกรณ์ Surge Protector แบบทั่วไปไม่สามารถที่จะรองรับการเกิดไฟกระโชกแบบช่วงยาวนี้ได้ และไฟกระโชกแบบช่วงยาวนี้เป็นสาเหตุหลักที่ทำให้อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ที่เปราะบางเสียหายเป็นจำนวนมาก ดังนั้นเพื่อความปลอดภัยสูงสุด ท่านจึงควรเลือกใช้แต่อุปกรณ์ Surge Protector ที่มีคุณสมบัติสามารถป้องกันไฟกระโชกทั้งแบบช่วงสั้น Transient และไฟกระโชกแบบช่วงยาว TOVs ได้ในตัวเดียวกัน
 
คุณสมบัติที่สำคัญของอุปกรณ์ป้องกันไฟกระโชกที่จะพิจารณาในการเลือกซื้อมีอะไรบ้าง ?
 
คำตอบ : คุณสมบัติที่สำคัญของอุปกรณ์ป้องกันไฟกระโชกที่จะใช้ในการพิจารณาเลือกซื้อ มีดังนี้
1. ต้องมีความสามารถในการรับไฟกระโชกแบบช่วงสั้น ( Transient ) และแบบช่วงยาว ( TOVs ) ได้
2. ความไวในการทำงานของตัวอุปกรณ์ป้องกันไฟกระโชก ( Response Time ) จะต้องมีค่าน้อยกว่า 25 nSec.
3. จุดเริ่มทำงานของตัวอุปกรณ์ป้องกันไฟกระโชก ( Clamping Voltage ) ควรอยู่ในระดับแรงดันไฟฟ้าที่เหมาะสม เช่น อยู่ระหว่าง 256 และ 315 Volt, 50 Hz
4. ค่าแรงดันไฟฟ้าที่ปรากฏที่โหลด ( Let Through Voltage ) ขณะที่อุปกรณ์ป้องกันกำลังรับไฟกระโชกอยู่ จะต้องมีค่าน้อยกว่า 1kv( Test at Transient 6KV / 3KA ) และ / หรือ มีค่าน้อยกว่า 285 VAC ( Test at TOVs 300 -600 VAC, 50 Hz / 10 – 20 A )
 
UPS สามารถป้องกันไฟกระโชก ได้หรือไม่ ?
 
คำตอบ : หน้าที่หลักของ UPS คือสำรองไฟฟ้าให้กับระบบ กล่าวคือเมื่อไฟฟ้าดับ UPS จะทำหน้าที่จ่ายไฟฟ้าทันทีทันใดอย่างต่อเนื่องให้กับอุปกรณ์ใช้งานต่าง ๆ ( Load ) ที่ต่ออยู่ด้านหลังของ UPS เสมือนหนึ่งว่าไม่มีเหตุการณ์ไฟฟ้าดับเกิดขึ้น และเนื่องจากการติดตั้ง UPS เป็นการติดตั้งแบบอนุกรมกับระบบไฟฟ้า โดยมีอุปกรณ์ใช้งานต่าง ๆ ( Load ) ต่ออยู่ด้านหลังของ UPS ดังนั้น เมื่อมีไฟกระโชกเข้ามาในระบบ ลำดับแรก ( ด่านแรก ) ที่จะถูกทำลายก่อนคือ UPS ลำดับต่อมาที่จะถูกทำลายคืออุปกรณ์ใช้งานต่าง ๆ ( Load ) ที่ต่ออยู่หลัง UPS จึงเป็นเหตุให้ผู้ใช้งานเข้าใจว่า UPS สามารถป้องกันไฟกระโชกได้ ซึ่งไม่ถูกต้อง เช่น ในกรณีเกิดไฟกระโชกอย่างรุนแรงมาก ๆ หลังจากที่ UPS เสียหายแล้ว ความรุนแรงของไฟกระโชกอาจยังมีมากพอที่จะหลุดเข้ามาทำลายอุปกรณ์ใช้งานต่าง ๆ ( Load ) ที่ต่ออยู่ด้านหลังของ UPS ได้
หมายเหตุ : อุปกรณ์ Stabilizer , Voltage regulator, Line Conditioner ไม่สามารถป้องกันไฟกระโชกได้ โดยมีหลักการทำงานเช่นเดียวกับ UPS ดังกล่าวข้างต้น
 
การเลือกซื้อขนาดของอุปกรณ์ป้องกันไฟกระโชก ควรเลือกอย่างไร ?
 
คำตอบ : เป็นคำถามที่ตอบยาก เพราะไม่มีใครรู้ว่าจะเกิดไฟกระโชกเมื่อใด ? และมีขนาดเท่าไร ? แต่สิ่งที่ควรคำนึงถึงในการเลือกซื้อขนาดของอุปกรณ์ป้องกันไฟกระโชก มีดังนี้คือ
 
1. สถานที่ที่อุปกรณ์ป้องกันไฟกระโชกจะถูกนำมาติดตั้ง ว่าเป็นพื้นที่ล่อแหลมมากน้อยแค่ไหน เช่น อยู่บนเขาหรืออยู่บนพื้นที่โล่ง ก็ควรที่จะเลือกอุปกรณ์ป้องกันไฟกระโชกขนาด 100KA at 8/20 µSec. แต่ถ้าอยู่ในพื้นที่ไม่ล่อแหลม ก็เลือกขนาด 40KA at 8/20 µSec. เป็นต้น
 
2. มูลค่าของอุปกรณ์โหลดต่าง ๆ ที่จะต้องป้องกัน รวมถึงมูลค่าทางอ้อม เช่น down time ด้วย ซึ่งเมื่อเกิดความเสียหายกับอุปกรณ์โหลดต่าง ๆ แล้ว ต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายหรือขาดรายรับเป็นจำนวนมาก ก็ต้องซื้ออุปกรณ์ป้องกันไฟกระโชกที่มีคุณภาพสูง สามารถป้องกันไฟกระโชกแบบช่วงยาว ( TOVs ) ได้ด้วย เช่น Transient 100KA at 8/20 µSec. และ TOVs 10A 3 Sec. เป็นต้น

ติดตั้งสายล่อฟ้าเชียงราย 
ติดตั้งสายล่อฟ้าเชียงใหม่ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าน่าน 
ติดตั้งสายล่อฟ้าพะเยา 
ติดตั้งสายล่อฟ้าแพร่ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าแม่ฮ่องสอน 
ติดตั้งสายล่อฟ้าลำปาง 
ติดตั้งสายล่อฟ้าลำพูน 
ติดตั้งสายล่อฟ้าอุตรดิตถ์
ติดตั้งสายล่อฟ้ากาฬสินธุ์ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าขอนแก่น 
ติดตั้งสายล่อฟ้าชัยภูมิ 
ติดตั้งสายล่อฟ้านครพนม 
ติดตั้งสายล่อฟ้านครราชสีมา 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบึงกาฬ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบุรีรัมย์ 
ติดตั้งสายล่อฟ้ามหาสารคาม 
ติดตั้งสายล่อฟ้ามุกดาหาร 
ติดตั้งสายล่อฟ้ายโสธร 
ติดตั้งสายล่อฟ้าร้อยเอ็ด 
ติดตั้งสายล่อฟ้าเลย 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสกลนคร 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสุรินทร์ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าศรีสะเกษ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าหนองคาย 
ติดตั้งสายล่อฟ้าหนองบัวลำภู 
ติดตั้งสายล่อฟ้าอุดรธานี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าอุบลราชธานี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าอำนาจเจริญ 
ติดตั้งสายล่อฟ้ากำแพงเพชร 
ติดตั้งสายล่อฟ้าชัยนาท 
ติดตั้งสายล่อฟ้านครนายก 
ติดตั้งสายล่อฟ้านครปฐม 
ติดตั้งสายล่อฟ้านครสวรรค์ 
ติดตั้งสายล่อฟ้านนทบุรี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าปทุมธานี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าพระนครศรีอยุธยา 
ติดตั้งสายล่อฟ้าพิจิตร 
ติดตั้งสายล่อฟ้าพิษณุโลก 
ติดตั้งสายล่อฟ้าเพชรบูรณ์ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าลพบุรี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสมุทรปราการ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสมุทรสงคราม 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสมุทรสาคร 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสิงห์บุรี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสุโขทัย 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสุพรรณบุรี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสระบุรี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าอ่างทอง 
ติดตั้งสายล่อฟ้าอุทัยธานี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าจันทบุรี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าฉะเชิงเทรา 
ติดตั้งสายล่อฟ้าชลบุรี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าตราด 
ติดตั้งสายล่อฟ้าปราจีนบุรี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าระยอง 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสระแก้ว 
ติดตั้งสายล่อฟ้ากาญจนบุรี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าตาก 
ติดตั้งสายล่อฟ้าประจวบคีรีขันธ์ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าเพชรบุรี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าราชบุรี 
ติดตั้งสายล่อฟ้ากระบี่ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าชุมพร 
ติดตั้งสายล่อฟ้าตรัง 
ติดตั้งสายล่อฟ้านครศรีธรรมราช 
ติดตั้งสายล่อฟ้านราธิวาส 
ติดตั้งสายล่อฟ้าปัตตานี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าพังงา 
ติดตั้งสายล่อฟ้าพัทลุง 
ติดตั้งสายล่อฟ้าภูเก็ต 
ติดตั้งสายล่อฟ้าระนอง 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสตูล 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสงขลา 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสุราษฎร์ธานี 
ติดตั้งสายล่อฟ้ายะลา 
ติดตั้งสายล่อฟ้ากรุงเทพมหานคร
 
ติดตั้งสายล่อฟ้าคลองสาน 
ติดตั้งสายล่อฟ้าคลองสามวา 
ติดตั้งสายล่อฟ้าคลองเตย
ติดตั้งสายล่อฟ้าคันนายาว 
ติดตั้งสายล่อฟ้าจอมทอง 
ติดตั้งสายล่อฟ้าดอนเมือง
ติดตั้งสายล่อฟ้าดินแดง 
ติดตั้งสายล่อฟ้าดุสิต 
ติดตั้งสายล่อฟ้าตลิ่งชัน 
ติดตั้งสายล่อฟ้าทวีวัฒนา
ติดตั้งสายล่อฟ้าทุ่งครุ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าธนบุรี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางกอกน้อย
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางกอกใหญ่ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางกะปิ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางคอแหลม
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางซื่อ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางนา 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางพลัด 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางรัก
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางเขน 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางแค 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบึงกุ่ม 
ติดตั้งสายล่อฟ้าปทุมวัน
ติดตั้งสายล่อฟ้าประเวศ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าป้อมปราบศัตรูพ่าย 
ติดตั้งสายล่อฟ้าพญาไท
ติดตั้งสายล่อฟ้าพระนคร 
ติดตั้งสายล่อฟ้าพระโขนง 
ติดตั้งสายล่อฟ้าภาษีเจริญ 
ติดตั้งสายล่อฟ้ามีนบุรี
ติดตั้งสายล่อฟ้ายานนาวา 
ติดตั้งสายล่อฟ้าราชเทวี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าราษฎร์บูรณะ
ติดตั้งสายล่อฟ้าลาดกระบัง 
ติดตั้งสายล่อฟ้าลาดพร้าว 
ติดตั้งสายล่อฟ้าวังทองหลาง
ติดตั้งสายล่อฟ้าวัฒนา 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสวนหลวง 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสะพานสูง
ติดตั้งสายล่อฟ้าสัมพันธวงศ์ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสาทร 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสายไหม
ติดตั้งสายล่อฟ้าหนองจอก 
ติดตั้งสายล่อฟ้าหนองแขม 
ติดตั้งสายล่อฟ้าหลักสี่ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าห้วยขวาง
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองนครปฐม 
ติดตั้งสายล่อฟ้ากำแพงแสน 
ติดตั้งสายล่อฟ้าดอนตูม
ติดตั้งสายล่อฟ้านครชัยศรี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางเลน 
ติดตั้งสายล่อฟ้าพุทธมณฑล 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสามพราน
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองนนทบุรี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางกรวย 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางบัวทอง
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางใหญ่ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าปากเกร็ด 
ติดตั้งสายล่อฟ้าไทรน้อย
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองปทุมธานี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าคลองหลวง 
ติดตั้งสายล่อฟ้าธัญบุรี
ติดตั้งสายล่อฟ้าลาดหลุมแก้ว 
ติดตั้งสายล่อฟ้าลำลูกกา 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสามโคก 
ติดตั้งสายล่อฟ้าหนองเสือ
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองสมุทรปราการ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางพลี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางเสาธง
ติดตั้งสายล่อฟ้าพระประแดง
 ติดตั้งสายล่อฟ้าพระสมุทรเจดีย์
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองระยอง
ติดตั้งสายล่อฟ้านิคมพัฒนา 
ติดตั้งสายล่อฟ้าเขาชะเมา
ติดตั้งสายล่อฟ้าบ้านฉาง 
ติดตั้งสายล่อฟ้าปลวกแดง 
ติดตั้งสายล่อฟ้าวังจันทร์ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าแกลง
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองชลบุรี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าเกาะจันทร์ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางละมุง
ติดตั้งสายล่อฟ้าบ่อทอง  
ติดตั้งสายล่อฟ้าบ้านบึง 
ติดตั้งสายล่อฟ้าพนัสนิคม
ติดตั้งสายล่อฟ้าพานทอง
ติดตั้งสายล่อฟ้าศรีราชา 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสัตหีบ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าหนองใหญ่ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าเกาะสีชัง
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองสมุทรสาคร 
ติดตั้งสายล่อฟ้ากระทุ่มแบน 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบ้านแพ้ว 
ติดตั้งสายล่อฟ้ามหาชัย
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองสมุทร
ติดตั้งสายล่อฟ้าอัมพวา 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางคนที
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองราชบุรี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบ้านคา 
ติดตั้งสายล่อฟ้าจอมบึง
ติดตั้งสายล่อฟ้าดำเนินสะดวก 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางแพ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบ้านโป่ง
ติดตั้งสายล่อฟ้าปากท่อ
ติดตั้งสายล่อฟ้าวัดเพลง 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสวนผึ้ง 
ติดตั้งสายล่อฟ้าโพธาราม
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองฉะเชิงเทรา 
ติดตั้งสายล่อฟ้าคลองเขื่อน 
ติดตั้งสายล่อฟ้าท่าตะเกียบ 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางคล้า
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางน้ำเปรี้ยว 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบางปะกง 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบ้านโพธิ์
ติดตั้งสายล่อฟ้าพนมสารคาม
ติดตั้งสายล่อฟ้าราชสาส์น 
ติดตั้งสายล่อฟ้าสนามชัยเขต 
ติดตั้งสายล่อฟ้าแปลงยาว
ติดตั้งสายล่อฟ้าเมืองนครนายก 
ติดตั้งสายล่อฟ้าปากพลี 
ติดตั้งสายล่อฟ้าบ้านนา 
ติดตั้งสายล่อฟ้าองครักษ์
 
Engine by shopup.com