35821997

ขั้นตอนการทำระบบพ่นหมอกอย่างไร ปี 2023

หมวดหมู่สินค้า: A172 ระบบพ่นหมอก

31 มีนาคม 2566

ผู้ชม 152 ผู้ชม

เราขายและติดตั้งเครื่องพ่นหมอก. ใช้เครื่องพ่นหมอกที่ทนทาน เปิดได้นานกว่า หมอกละเอียด มีอะไหร่ทดแทนเครื่องพ่นหมอกทุกชิ้น ระบบหัวพ่นหมอกช่วยลดความร้อน เพิ่มบรรยากาศสวนให้ร่มรื่น เพิ่มความชื้นให้กับพื้นที่สีเขียว ผลงานของเรา
หัวพ่นหมอก
เครื่องพ่นหมอก 
ชุดพ่นหมอก
ติดตั้งพ่นหมอกลดความร้อน
ติดตั้งพ่นหมอกต้นไม้
ติดตั้งระบบน้ำสปริงเกอร์
ระบบน้ําในสวน
ติดตั้งระบบน้ำหยด
ติดตั้งระบบน้ำพุ่ง
 
                             ติดต่อทีมงาน




ขั้นตอนการทำระบบพ่นหมอก
 
ระบบพ่นหมอก หรือ หัวพ่นหมอก นอกจากจะใช้ในการเกษตรแล้ว ยังสามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้กับสวนในบ้าน เช่น สวนเฟิน และสวนกล้วยไม้ หรือจะประยุกต์ใช้ในการช่วยลดความร้อนให้กับที่พักอาศัย โดยสามารถติดตั้งได้หลากหลายพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นริมระเบียง กำแพง หรือแขวนบนกันสาด
 
ระบบพ่นหมอก แบ่งได้เป็น 3 ประเภท ตามแรงดัน และประเภทของปั๊ม
 
ระบบพ่นหมอกแรงดันต่ำ
เป็นระบบพ่นหมอกที่สามารถต่อตรงเข้ากับระบบประปาของบ้าน(ที่มีปั๊มอยู่แล้ว)ได้ทันที มีแรงดันอยู่ที่ระหว่าง 4-20 บาร์ สามารถขับหัวพ่นหมอกเบอร์ 1  2 และ 3 ได้ สำหรับจำนวนหัวที่สามารถต่อได้โดยไม่ต้องใช้ปั๊มเสริมคือประมาณ 5 หัว (ขึ้นอยู่กับความยาวของสาย และระยะห่างของแต่ละหัว) แต่หากระบบประปาที่บ้านไม่มีปั๊มน้ำ อาจเลือกใช้ปั๊มขนาดเล็กอย่างปั๊ม DC 12 โวล์ต โซลินอยด์วาวล์ แล้วต่อสายยางเพื่อเพิ่มแรงดัน ก็ถือเป็นตัวเลือกที่ง่ายเเละประหยัด ทั้งนี้นอกจากจะหาซื้อชุดพ่นหมอกแรงดันต่ำได้จากร้านจำหน่ายอุปกรณ์จัดสวนทั่วไปเเล้ว ยังสามารถซื้อจากเว็บช้อปปิ้งออนไลน์ต่าง ๆ ได้ด้วย
 
ระบบพ่นหมอกแรงดันสูง
เป็นระบบพ่นหมอกที่ใช้ปั๊มขนาดกลางมีแรงดันอยู่ที่ประมาณ 20-70 บาร์ สามารถพ่นหมอกได้ละเอียดกว่า และต่อเข้ากับหัวพ่นได้จำนวนเยอะกว่า นิยมใช้กับโรงเรือนทางการเกษตรเพราะให้ละอองน้ำที่มีฝอยละเอียดกว่า โดยทั่วไปสามารถต่อได้ประมาณ 20 หัวพ่น แต่อาจต้องใช้ความชำนาญในการเดินระบบเพื่อไม่ให้เกิดการรั่วซึม และยังมีราคาที่สูงกว่าปั๊มแรงดันต่ำค่อนข้างมาก
 
ระบบพ่นหมอกแรงดันปั๊ม 3 สูบ
เป็นระบบพ่นหมอกที่ใช้กับปั๊ม 3 สูบ ในการเกษตร มีแรงดันอยู่ที่ประมาณ 20-50 บาร์ เช่นเดียวกับระบบพ่นหมอกแรงดันสูง แต่ให้ Flowrate หรือ อัตราการไหลของน้ำ ที่มากกว่า จึงสามารถรองรับหัวพ่นหมอกได้เป็นร้อยหัวเลยทีเดียว โดยขึ้นอยู่กับเบอร์ของหัวพ่น และขนาดของปั๊ม แต่มีขั้นตอนการติดตั้งค่อนข้างยาก และมีราคาสูง จึงมักจำกัดการใช้งานอยู่เพียงแต่ในอุตสาหกรรมการเกษตรขนาดใหญ่
 
ซึ่งเราจะขอพูดถึง ระบบพ่นหมอกแรงดันต่ำ ที่คุณสามารถติดตั้งเองได้ง่าย ๆ  มีราคาย่อมเยา เเละสามารถประยุกต์ใช้ได้หลากหลายพื้นที่ ก่อนอื่นต้องเตรียมอุปกรณ์ที่จำเป็นให้พร้อมเสียก่อน โดยมีอุปกรณ์ที่ต้องใช้ ดังนี้
 
ท่อ PVC ขนาด 6 หุน ข้อต่อสามทาง บอลวาวล์ และข้อต่อท่อต่าง ๆ โดยอ้างอิงจากพื้นที่ซึ่งต้องการทำการติดตั้ง
 
เทปและกาวสำหรับพันท่อ
ใบเลื่อยสำหรับตัดท่อ
ท่อ PE 20 มิลลิเมตร และ 16 มิลลิเมตร อ้างอิงจากพื้นที่ซึ่งต้องการทำการติดตั้ง
ท่ออ่อนไมโคร 7 มิลลิเมตร
ตัวเจาะท่อ PE
หัวพ่นหมอก เบอร์ 1 2 และ 3 ตามที่ต้องการ
 
ขั้นตอนการประกอบระบบพ่นหมอกแรงดันต่ำด้วยตัวเอง
 
1  เลือกต่อท่อสามทางออกจากระบบประปาเสียก่อน หากที่บ้านมีปั๊มน้ำอยู่แล้วก็สามารถต่อได้เลย แต่บางบ้านที่ไม่ได้ติดตั้งปั๊มน้ำ อาจต้องต่อท่อเข้าปั๊ม DC ก่อน เพื่อเพิ่มแรงดันน้ำ
 
2  ติดตั้งบอลวาล์วก่อน เเล้วจึงใส่ข้อต่อเพื่อปรับเป็นท่อ PE ต่อไป
 
3  ต่อท่อ PE 20 มิลลิเมตร โดยใช้ข้อต่อตรงเกลียวนอก และติดตั้งตัวรัดเกลียวเพื่อความแน่นหนา
 
4  เดินท่อไปยังจุดที่ต้องการจะพ่นหมอก จากนั้นจึงใส่สามทางแยกซ้าย-ขวา และลดขนาดท่อเป็น 16 มิลลิเมตร เพื่อคงแรงดันน้ำ
 
5.เดินท่อไปยังจุดที่ต้องการ แต่ควรคำนึงไว้เสมอว่า ยิ่งไกลแรงดันน้ำยิ่งอ่อนลง เเละเมื่อเดินท่อไปจนสุดตำเเหน่งที่ต้องการเเล้ว ให้คุณพับปลายท่อก่อนเเล้วจึงค่อยติดตั้งตัวปิดปลาย
 
6  เจาะท่อให้เป็นรูสำหรับใส่สายไมโคร โดยเว้นระยะห่างให้เท่า ๆ กัน  2-3 จุด
 
 7  นำสายไมโคร และข้อต่อ ติดตั้งตามรูที่เจาะไว้
 
 8  ติดตั้งหัวพ่นบริเวณปลายสายไมโคร แล้วเปิดน้ำทดสอบดูว่าการพ่นของน้ำใช้ได้ดีหรือไม่ เท่านี้ก็เป็นอันเรียบร้อย!
 
รีวิว เดินระบบหัวพ่นหมอก ลดความร้อน กรองฝุ่น ด้วยตัวเอง
 
สามารถถอดล้าง ทำความสะอาดได้ ทำให้ลดปัญหาเรื่องการอุดตันของหัวพ่นหมอกเเบบเดิมๆที่ใช้อยู่ เเละ ขนาดละอองน้ำก็เล็กกว่าเดิม(0.8mm) อีกด้วย
หัวพ่นหมอกพลาสติก ความละเอียดของหัวละอองน้ำจะอยู่ที่ 0.6mm อัตราการกินน้ำอยู่ที่ 9 - 15 ลิตร ต่อชั่วโมง เเล้วเเต่เเรงดันน้ำที่ใช้ เเรงดันน้ำขั้นต่ำอยู่ที่ 1bar ถึงจะใช้ได้นะครับ (แรงดันน้ำประปาอยู่ที่ 1.5bar)
 
จากการทดสอบ หากไม่ใช้ปั๊มน้ำ ไม่ควรติดตั้งเกิน 5 หัวพ่น 
เเต่หากมีปั๊มน้ำช่วย จะสามารถติดตั้งได้ 15-20หัวพ่น 
 
ยังไงก็ตาม ทางร้านเเนะนำว่า หากจะใช้หัวพ่นหมอกระบบนี้ อย่างน้อยที่บ้านควรจะมีปั๊มน้ำอัตโนมัติ หากไม่มีไม่เเนะนำครับ 
 
 
มาดูข้อดีของหัวพ่นหมอกแบบพลาสติก คือ ลดความร้อน เเละ ฝุ่นได้ดี เเต่ข้อเสียคือ ละอองยังใหญ่ ตกถึงพื้นเปียกอยู่นะครับ
 
ถ้าอยากได้เเบบที่ละอองตกพื้นเเล้วไม่เปียก ก็ต้องเลือกเเบบหัวพ่นสเเตนเลสที่ใช้ปั๊มเเรงดันช่วยอัด ละอองจะเล็กมาก 0.3mm พื้นก็ไม่เปียกครับ ระบบนี้ดีกว่าระบบพลาสติกทุกอย่าง เเต่ข้อเสียคือ ต้องใช้ปั๊มช่วยเพิ่มเเรงดันน้ำ เเละ ราคาสูงกว่าหัวพ่นหมอกเเบบพลาสติกหลายเท่าตัว 
 
พอจะทราบเงื่อนไขกันเเล้วนะครับ ถ้าใครคิดว่าระบบนี้เหมาะกับตัวเองก็ลองดูวิธีติดตั้งด้านล่างได้เลย ด้านล่างจะเป็นรีวิวเก่า ที่เขียนไว้เมื่อปีที่เเล้วนะครับ หัวพ่นในรูปเลยจะเป็นหัวพ่นรุ่นเก่าอยู่ 
 
ประหยัด" หลายคนอาจรู้สึกว่าการเดินระบบพ่นหมอกรอบบ้านนั้น ราคาสูง ยุ่งยาก ต้องให้ช่างมาติดตั้งให้ เเน่นอนครับว่า ของดี คุณภาพสูง สเป็คสูง ราคาก็สูงตามไปด้วย เเต่ถ้าเราลดสเป็คความต้องการลง เอาเท่าที่จำเป็น บทความนี้น่าจะช่วยทำให้คุณสามารถทำเองได้ (เเต่คุณต้องมั่นใจก่อนนะครับว่ารับได้ในข้อจำกัด ที่จะพูดถึงต่อไป)
 
ขอเริ่มที่ ข้อจำกัดของระบบที่จะเเนะนำก่อนเลยนะครับ
 
(ใครรับข้อจำกัด เงี่อนไขเหล่านี้ไม่ได้จะได้ไม่เสียเวลาอ่านต่อครับ)
 
ระบบบนี้ต้องใช้เเรงดันน้ำมากกว่า 1 bar ในการติดตั้ง ปกติน้ำประปา เเรงดันจะอยู่ที่ 1.5bar เเต่หากไม่มีปั๊มช่วย ก็ไม่ควรติดตั้งเกิน 5 ตัวครับ หากที่บ้านมีปั๊มน้ำอัตโนมัติช่วย เเบบนี้ก็ได้ 15-20 หัว เเล้วเเต่เเรงดันของปั๊มที่ท่านใช้อยู่ครับ 
 
ข้อควรทราบ 
- ไม่ควรเดินท่อยาว ยิ่งยาวเเรงดันน้ำในระบบยิ่งลดลงนะครับ พยายามเดินให้สั้นที่สุด 
- หัวพ่นยิ่งเยอะ เเรงดันน้ำก็ยิ่งดรอปลง 
 
1. หัวพ่นหมอก เเบบพลาสติกที่ผมใช้ ตัวละประมาณ 20 บาทครับ 7 ตัว = 140 บาท (มีหลายเกรดนะครับ เลือกดูเอาตามที่ถูกใจเลยครับ)
 
2. ท่อPE ผมใช้ขนาด 20มม ถ้าซื้อเเบ่งขาย 20บาทต่อเมตร ใช้ไป 15 เมตร = 300 บาท 
 
3. ตัวข้องอท่อ PE ตัวละไม่เกิน 10 บาทครับ ใช้ไป 5 ตัว 50 บาทครับ
 
วัดระยะ คำนวณ อุปกรณ์ ที่จะใช้ให้เรียบร้อย ซื้อเผื่อมาเลยนะครับ 
 
เริ่มจากเตรียมท่อ PE ครับ ... วิธีทำให้ท่อคลายตัว ง่ายที่สุด คือ นำท่อ PE ไปตากเเดดสักพัก มันจะเริ่มคลายตัว จะดัดให้ตรงง่ายขึ้น
 
วางท่อ PE ตามเเนวที่เราต้องการติดไว้กับพื้นก่อน วัดระยะเจาะรูตามที่ต้องการ (ผมเว้น 60เซนติเมตร) เเล้ว ติดหัวพ่นเเบบที่เราชอบ ตามองศาที่เราต้องการ
-เจาะรูเสร็จเเล้วก็เอาคีม จับหัวพ่น กดลงเข้ารูตามที่เราเจาะไว้ครับ 
เบาเเรง ไม่เจ็บมือ
- ยัดลงไปให้สุด เเล้วลองดึงดู ถ้าเเน่นไม่หลุด ถือว่าใช้ได้ 
- นำท่อ PE ที่ติดหัวพ่นเรียบร้อยเเล้ว ยึดติดกับจุดที่เราต้องการ จะใช้ลวด หรือ Cable tie ผูกติดไว้กับจุดที่ต้องการ ผมใช้ Cable tie สีดำ เข้ากับเหล็กสีดำ อยากให้ดูเรียบร้อยขึ้น 
- ตามข้อต่อต่างๆ ก็รัดให้เเน่นเช่นกันครับ หัวพ่นหมอก เเรงดันในท่อจะสูงทำให้ต้องรัดข้อต่อกับท่อ PE ให้เเน่นด้วยนะครับ (ใครจะใช้ลวดรัดก็ได้ครับไม่ผิดกฎหมายเเต่ลวดเวลาใช้ไปนานๆเเล้วมันจะชอบเป็นสนิมนะครับ)
- จุดที่เดินเรียบกับพื้นดิน ผมใช้สมอบกยึดไว้ครับ หน้าตาเจ้าสมอบกสำหรับยึดท่อ PE กับดินครับ (เลือกซื้อให้ถูกขนาดกับท่อ PE นะครับ) ใครจะฝังในดินซ่อนท่อก็เอาที่สะดวกได้เลยครับ
- ใครจะต่อท่อ PE เข้ากับก๊อกสนาม เเล้วใช้วิธีเปิดปิดเองก็ทำได้ หรือ จะติดตั้งเข้ากับเครื่องตั้งเวลาเปิด-ปิดน้ำ ก็ใช้ข้อต่อตัวเเปลง 3/4" กับ ท่อ PE เเล้วประกอบร่างได้เลยครับ
-สุดท้าย เปิดน้ำเข้าระบบท่อ ให้เศษท่อที่เจาะ ไหลออก เเล้วพับสาย ความจริงมันจะมีตัวปิดท้ายขาย เเต่ผมไม่ชอบเพราะมันไม่เรียบ เลยใช้วิธีพับ มัดลวด เเล้ว เอาเทปดำ ปิดทับอีกมันจะเรียบกว่าใช้ตัวอุดปิดสาย
 
คำเเนะนำเพิ่มเติม
 
 - หัวพ่นหมอก จำเป็นต้องใช้น้ำสะอาดเท่านั้น เพราะรูพ่นน้ำมีขนาดเล็กมาก อุดตันได้ง่ายมาก หากน้ำมีตะกอนมาก ควรติดตั้งตัวกรองก่อนนะครับ ไม่งั้นต้องได้เปลี่ยนหัวพ่นบ่อยเเน่ๆ
 
 - ย้ำกันอีกรอบ ระบบพ่นน้ำที่เเนะนำ เน้นประหยัดเเละทำได้เอง เพราะฉนั้นความละเอียดของละอองน้ำที่ออกมา เปียกได้ จะไม่ละเอียดเหมือนระบบที่มีปั๊มเเรงดันสูงควบคุมการทำงานด้วยระบบไฟฟ้า ท่อเเละข้อต่อทำจากอลูมิเนียมทนเเรงดันสูงไม่เป็นสนิม หัวพ่นทำจากทองเหลืองให้ละอองเล็กสะใจนะครับ 
 
 - พยายามหลีกเลี่ยงการเดินสายเป็นระยะทางไกลๆ เเละ มีจุดเชื่อมต่อมาก ท่อ PE เวลาโดนความร้อนเเล้วจะอ่อนตัว หากไม่รัดให้เเน่นเเรงดันน้ำจะดันท่อให้หลุดได้ เพราะฉนั้นเเนะนำให้รัดข้อต่อทุกจุดให้เเน่นเลยนะครับ จะได้ไม่ต้องมานั้งเเก้ทีหลัง
 
 - จะเปลี่ยนจากระบบพ่นหมอก เป็นสปิงเกอร์พ่นน้ำบนหลังคาเเทนก็ได้นะครับ ถ้าเน้นเรื่องลดความร้อนในตัวบ้าน ปรับใช้กันตามสะดวกได้เลยครับ  
 
 
 

หัวพ่นหมอกเชียงราย 
หัวพ่นหมอกเชียงใหม่ 
หัวพ่นหมอกน่าน 
หัวพ่นหมอกพะเยา 
หัวพ่นหมอกแพร่ 
หัวพ่นหมอกแม่ฮ่องสอน 
หัวพ่นหมอกลำปาง 
หัวพ่นหมอกลำพูน 
หัวพ่นหมอกอุตรดิตถ์
หัวพ่นหมอกกาฬสินธุ์ 
หัวพ่นหมอกขอนแก่น 
หัวพ่นหมอกชัยภูมิ 
หัวพ่นหมอกนครพนม 
หัวพ่นหมอกนครราชสีมา 
หัวพ่นหมอกบึงกาฬ 
หัวพ่นหมอกบุรีรัมย์ 
หัวพ่นหมอกมหาสารคาม 
หัวพ่นหมอกมุกดาหาร 
หัวพ่นหมอกยโสธร 
หัวพ่นหมอกร้อยเอ็ด 
หัวพ่นหมอกเลย 
หัวพ่นหมอกสกลนคร 
หัวพ่นหมอกสุรินทร์ 
หัวพ่นหมอกศรีสะเกษ 
หัวพ่นหมอกหนองคาย 
หัวพ่นหมอกหนองบัวลำภู 
หัวพ่นหมอกอุดรธานี 
หัวพ่นหมอกอุบลราชธานี 
หัวพ่นหมอกอำนาจเจริญ 
หัวพ่นหมอกกำแพงเพชร 
หัวพ่นหมอกชัยนาท 
หัวพ่นหมอกนครนายก 
หัวพ่นหมอกนครปฐม 
หัวพ่นหมอกนครสวรรค์ 
หัวพ่นหมอกนนทบุรี 
หัวพ่นหมอกปทุมธานี 
หัวพ่นหมอกพระนครศรีอยุธยา 
หัวพ่นหมอกพิจิตร 
หัวพ่นหมอกพิษณุโลก 
หัวพ่นหมอกเพชรบูรณ์ 
หัวพ่นหมอกลพบุรี 
หัวพ่นหมอกสมุทรปราการ 
หัวพ่นหมอกสมุทรสงคราม 
หัวพ่นหมอกสมุทรสาคร 
หัวพ่นหมอกสิงห์บุรี 
หัวพ่นหมอกสุโขทัย 
หัวพ่นหมอกสุพรรณบุรี 
หัวพ่นหมอกสระบุรี 
หัวพ่นหมอกอ่างทอง 
หัวพ่นหมอกอุทัยธานี 
หัวพ่นหมอกจันทบุรี 
หัวพ่นหมอกฉะเชิงเทรา 
หัวพ่นหมอกชลบุรี 
หัวพ่นหมอกตราด 
หัวพ่นหมอกปราจีนบุรี 
หัวพ่นหมอกระยอง 
หัวพ่นหมอกสระแก้ว 
หัวพ่นหมอกกาญจนบุรี 
หัวพ่นหมอกตาก 
หัวพ่นหมอกประจวบคีรีขันธ์ 
หัวพ่นหมอกเพชรบุรี 
หัวพ่นหมอกราชบุรี 
หัวพ่นหมอกกระบี่ 
หัวพ่นหมอกชุมพร 
หัวพ่นหมอกตรัง 
หัวพ่นหมอกนครศรีธรรมราช 
หัวพ่นหมอกนราธิวาส 
หัวพ่นหมอกปัตตานี 
หัวพ่นหมอกพังงา 
หัวพ่นหมอกพัทลุง 
หัวพ่นหมอกภูเก็ต 
หัวพ่นหมอกระนอง 
หัวพ่นหมอกสตูล 
หัวพ่นหมอกสงขลา 
หัวพ่นหมอกสุราษฎร์ธานี 
หัวพ่นหมอกยะลา 
หัวพ่นหมอกกรุงเทพมหานคร
 
หัวพ่นหมอกคลองสาน 
หัวพ่นหมอกคลองสามวา 
หัวพ่นหมอกคลองเตย
หัวพ่นหมอกคันนายาว 
หัวพ่นหมอกจอมทอง 
หัวพ่นหมอกดอนเมือง
หัวพ่นหมอกดินแดง 
หัวพ่นหมอกดุสิต 
หัวพ่นหมอกตลิ่งชัน 
หัวพ่นหมอกทวีวัฒนา
หัวพ่นหมอกทุ่งครุ 
หัวพ่นหมอกธนบุรี 
หัวพ่นหมอกบางกอกน้อย
หัวพ่นหมอกบางกอกใหญ่ 
หัวพ่นหมอกบางกะปิ 
หัวพ่นหมอกบางคอแหลม
หัวพ่นหมอกบางซื่อ 
หัวพ่นหมอกบางนา 
หัวพ่นหมอกบางพลัด 
หัวพ่นหมอกบางรัก
หัวพ่นหมอกบางเขน 
หัวพ่นหมอกบางแค 
หัวพ่นหมอกบึงกุ่ม 
หัวพ่นหมอกปทุมวัน
หัวพ่นหมอกประเวศ 
หัวพ่นหมอกป้อมปราบศัตรูพ่าย 
หัวพ่นหมอกพญาไท
หัวพ่นหมอกพระนคร 
หัวพ่นหมอกพระโขนง 
หัวพ่นหมอกภาษีเจริญ 
หัวพ่นหมอกมีนบุรี
หัวพ่นหมอกยานนาวา 
หัวพ่นหมอกราชเทวี 
หัวพ่นหมอกราษฎร์บูรณะ
หัวพ่นหมอกลาดกระบัง 
หัวพ่นหมอกลาดพร้าว 
หัวพ่นหมอกวังทองหลาง
หัวพ่นหมอกวัฒนา 
หัวพ่นหมอกสวนหลวง 
หัวพ่นหมอกสะพานสูง
หัวพ่นหมอกสัมพันธวงศ์ 
หัวพ่นหมอกสาทร 
หัวพ่นหมอกสายไหม
หัวพ่นหมอกหนองจอก 
หัวพ่นหมอกหนองแขม 
หัวพ่นหมอกหลักสี่ 
หัวพ่นหมอกห้วยขวาง
หัวพ่นหมอกเมืองนครปฐม 
หัวพ่นหมอกกำแพงแสน 
หัวพ่นหมอกดอนตูม
หัวพ่นหมอกนครชัยศรี 
หัวพ่นหมอกบางเลน 
หัวพ่นหมอกพุทธมณฑล 
หัวพ่นหมอกสามพราน
หัวพ่นหมอกเมืองนนทบุรี 
หัวพ่นหมอกบางกรวย 
หัวพ่นหมอกบางบัวทอง
หัวพ่นหมอกบางใหญ่ 
หัวพ่นหมอกปากเกร็ด 
หัวพ่นหมอกไทรน้อย
หัวพ่นหมอกเมืองปทุมธานี 
หัวพ่นหมอกคลองหลวง 
หัวพ่นหมอกธัญบุรี
หัวพ่นหมอกลาดหลุมแก้ว 
หัวพ่นหมอกลำลูกกา 
หัวพ่นหมอกสามโคก 
หัวพ่นหมอกหนองเสือ
หัวพ่นหมอกเมืองสมุทรปราการ 
หัวพ่นหมอกบางพลี 
หัวพ่นหมอกบางเสาธง
หัวพ่นหมอกพระประแดง
 หัวพ่นหมอกพระสมุทรเจดีย์
หัวพ่นหมอกเมืองระยอง
หัวพ่นหมอกนิคมพัฒนา 
หัวพ่นหมอกเขาชะเมา
หัวพ่นหมอกบ้านฉาง 
หัวพ่นหมอกปลวกแดง 
หัวพ่นหมอกวังจันทร์ 
หัวพ่นหมอกแกลง
หัวพ่นหมอกเมืองชลบุรี 
หัวพ่นหมอกเกาะจันทร์ 
หัวพ่นหมอกบางละมุง
หัวพ่นหมอกบ่อทอง  
หัวพ่นหมอกบ้านบึง 
หัวพ่นหมอกพนัสนิคม
หัวพ่นหมอกพานทอง
หัวพ่นหมอกศรีราชา 
หัวพ่นหมอกสัตหีบ 
หัวพ่นหมอกหนองใหญ่ 
หัวพ่นหมอกเกาะสีชัง
หัวพ่นหมอกเมืองสมุทรสาคร 
หัวพ่นหมอกกระทุ่มแบน 
หัวพ่นหมอกบ้านแพ้ว 
หัวพ่นหมอกมหาชัย
หัวพ่นหมอกเมืองสมุทร
หัวพ่นหมอกอัมพวา 
หัวพ่นหมอกบางคนที
หัวพ่นหมอกเมืองราชบุรี 
หัวพ่นหมอกบ้านคา 
หัวพ่นหมอกจอมบึง
หัวพ่นหมอกดำเนินสะดวก 
หัวพ่นหมอกบางแพ 
หัวพ่นหมอกบ้านโป่ง
หัวพ่นหมอกปากท่อ
หัวพ่นหมอกวัดเพลง 
หัวพ่นหมอกสวนผึ้ง 
หัวพ่นหมอกโพธาราม
หัวพ่นหมอกเมืองฉะเชิงเทรา 
หัวพ่นหมอกคลองเขื่อน 
หัวพ่นหมอกท่าตะเกียบ 
หัวพ่นหมอกบางคล้า
หัวพ่นหมอกบางน้ำเปรี้ยว 
หัวพ่นหมอกบางปะกง 
หัวพ่นหมอกบ้านโพธิ์
หัวพ่นหมอกพนมสารคาม
หัวพ่นหมอกราชสาส์น 
หัวพ่นหมอกสนามชัยเขต 
หัวพ่นหมอกแปลงยาว
หัวพ่นหมอกเมืองนครนายก 
หัวพ่นหมอกปากพลี 
หัวพ่นหมอกบ้านนา 
หัวพ่นหมอกองครักษ์
 


Engine by shopup.com