17431864

อยากเป็นทนาย ต้องทำอย่างไร ปี 2023

หมวดหมู่สินค้า: A136 ทนายความ

31 มีนาคม 2566

ผู้ชม 160 ผู้ชม

ให้คำปรึกษากฎหมายฟรีในพื้นที่
ปรึกษาคดีความ
ทนายคดีกู้ยืมเงิน
ทนายคดีพิพาทเกี่ยวกับมรดก
คดีผิดสัญญาต่าง ๆ  คดีค้ำประกัน คดีละเมิดเรียกค่าเสียหาย  
คดีร้องขอจัดตั้งผู้จัดการมรดก คดีซื้อขาย คดีบังคับจำนอง คดีประกันภัย คดีฟ้องแบ่งแยกกรรมสิทธิ์ คดีหุ้นส่วนบริษัท  คดีครอบครัว คดีตัวแทนนายหน้า คดีที่ดินคดีฟ้องขับไล่

               ปรึกษาทนาย   





อยากเป็นทนาย ต้องทำอย่างไร
 
“อาชีพทนายความ”
 
อาจเป็นความฝันของใครหลายคนที่เรียนจบนิติศาสตร์
 
ถือได้ว่าเป็นหนึ่งในอาชีพสุดฮิตอาชีพหนึ่งของเด็กนิติเลยก็ว่าได้
 
เพราะการจะเป็นทนายความได้ต้องเรียนจบปริญญาตรี สาขานิติศาสตร์มาเท่านั้น
 
แต่ทว่าก็ยังมีเด็กนิติหลายคนที่ยังไม่รู้ว่าต้องทำอย่างไร
 
ผ่านกระบวนการ ขั้นตอนและวิธีการอย่างไร ถึงจะเป็นทนายได้
 
ฉะนั้นวันนี้ ทนายรินรดาก็เลยขอแบ่งปันประสบการณ์การสอบเพื่อเป็นวิทยาทานค่ะ
 
ขั้นตอนที่ 1 ได้วุฒิการศึกษาก่อน
 
ถึงแม้จะ อยากเป็นทนาย มากแค่ไหน
 
อันดับแรกก่อนสมัครเลยก็คือต้องได้อนุปริญญาสาขานิติศาสตร์หรือสำเร็จการศึกษาในระดับชั้นปริญญาตรี สาขานิติศาสตร์บัณฑิต
 
**อนุปริญญาก็คือใบคุณวุฒิที่แสดงถึงชั้นความรู้ระดับอุดมศึกษารองจากปริญญาตรีซึ่งประสาทให้แก่ผู้ที่สอบไล่ได้ตามหลักสูตรที่กําหนดไว้ **
 
รายชื่อหลักสูตรอนุปริญญาและปริญญาตรีที่สภาทนายความรับรอง >>  ตั๋วรุ่น / ตั๋วปี
 
ขั้นตอนที่ 2 สมัครฝึกอบรมกับสภาทนายความ
 
ในการสอบใบอนุญาตว่าความ (หรือที่เรียกกันว่าตั๋วทนาย) นั้น สภาทนายความฯได้จัดการทดสอบออกเป็นสองรูปแบบก็คือ
 
การสอบใบอนุญาตว่าความประเภทผู้ผ่านการอบรมวิชาว่าความ (หรือตั๋วรุ่น)
 
การสอบใบอนุญาตว่าความประเภทผู้ผ่านการฝึกงานในสำนักงานไม่น้อยกว่า 1 ปี (หรือตั๋วปี)
 
**ต่อจากนี้ขออนุญาตเรียกสั้นๆว่า “ตั๋วรุ่น”กับ “ตั๋วปี” นะ**
 
โดยตั๋วปีสามารถสมัครฝึกงานได้ทั้งปี โดยติดต่อสำนักงานที่สนใจฝึกงานพร้อมกับขอ แบบแจ้งฝึกงานในสำนักงานไม่น้อยกว่า 1 ปี จากสภาทนายความฯ
(ขอได้ที่สภากลางเท่านั้น ขอที่สภาทนายฯ สาขาในต่างจังหวัดไม่ได้) เมื่อสมัครเรียบร้อย สภาทนายฯจะส่งใบกำหนดฝึกงานครบ 1 ปี เมื่อครบกำหนดแล้ว
ก็รอประกาศรับสมัครสอบใบอนุญาตว่าความประเภทผู้ผ่านการฝึกงานในสำนักงานไม่น้อยกว่า 1 ปี
 
ส่วนตั๋วรุ่นจะเปิดรับสมัครอบรมประมาณ 3-4 รุ่น/ปี สมัครได้เมื่อมีประกาศรับสมัครอบรมจากสภาทนายความ ทั้งนี้จะฝึกงานในสำนักงานก่อนหรือไม่ก็ได้ และสภาทนายฯก็ไม่บังคับเข้าอบรมภาคทฤษฎีด้วย ฉะนั้นนับแต่สมัครอบรมจนถึงวันสอบภาคปฏิบัติ จะไปอบรมหรือฝึกงานหรืออ่านเตรียมสอบอย่างเดียวก็ได้ แล้วแต่ความสะดวกของผู้เข้าอบรม
 
ความเห็นของทนาย : หากเป็นคนจบใหม่ ยังไม่มีงานทำ แนะนำให้ฝึกงานจริงในสำนักงานจะดีกว่าการอ่านเอง เพราะได้เจอของจริงเลย โดยฝึกงานตั๋วปีพร้อมกับรอสมัครตั๋วรุ่นควบคู่กันไป เพื่อไม่ให้เป็นการเสียเวลาเก็บเวลาฝึกงาน
 
ส่วนการเตรียมเอกสารการสมัครและค่าใช้จ่าย ดูรายละเอียดได้ที่ ระเบียบการสมัครอบรมวิชาวิชาว่าความ ประเภทอบรมรุ่นและประเภทผู้ฝึกหัดงานในสำนักงาน 1 ปี
 
ขั้นตอนที่ 3 ทดสอบวัดความรู้
 
ความแตกต่างของตั๋วรุ่นกับตั๋วปีก็คือ “จำนวนครั้งที่ต้องสอบ” กับ “ระยะเวลาฝึกงาน”
 
โดยตั๋วรุ่น จะต้องผ่านการอบรมแล้วจึงสอบภาคทฤษฎีก่อน จากนั้นก็ฝึกงานเป็นเวลา 6 เดือน ถึงจะได้สอบภาคปฏิบัติ
 
แต่ตั๋วปี จะต้องผ่านการฝึกงานไม่ต่ำกว่า 1 ปี จึงจะสามารถสอบภาคปฏิบัติได้
 
ความแตกต่างของการสอบภาคทฤษฎีกับภาคปฏิบัติก็คือ “แบบพิมพ์ศาล”
เนื่องจากการใช้แบบพิมพ์ศาลจะใช้สอบในภาคปฏิบัติเท่านั้น ส่วนภาคทฤษฎีใช้กระดาษ A4 เปล่าในการสอบ
 
ขั้นตอนที่ 4 สอบปากเปล่า
 
เมื่อผ่านการสอบภาคปฏิบัติแล้ว ผู้เข้ารับการสอบต้องผ่านการสอบปากเปล่า ซึ่งเป็นการสอบสัมภาษณ์ต่อหน้ากรรมการสองคน โดยกรรมการจะสุ่มถามผู้เข้าสอบประมาณ 2 คำถาม ผู้เข้าสอบจะต้องตอบให้ได้อย่างรวดเร็ว แม่นยำและฉะฉาน หากสอบไม่ผ่านจะถูกแยกออกไปสอบอีกห้องหนึ่ง เรียกว่า “ห้องเย็น”
 
**แต่ยังไม่เคยได้ยินนะว่ามีคนสอบตกปากเปล่าตั๋วทนายจนต้องเข้าห้องเย็นนะคะ**
 
ขั้นตอนที่ 5 อบรมจริยธรรมและรับประกาศนียบัตร
 
เมื่อผ่านการสอบปากเปล่าแล้ว สภาทนายความฯ จะกำหนดวันอบรมจริยธรรมและวันรับประกาศนียบัตรผู้ผ่านการอบรมวิชาว่าความและผู้ผ่านการฝึกงานในสำนักงานไม่น้อยกว่า 1 ปี
 
ขั้นตอนที่ 6 ขึ้นทะเบียนทนายความ
 
เมื่อได้รับประกาศนียบัตรแล้ว ผู้ผ่านการทดสอบจะสามารถดำเนินการขอขึ้นทะเบียนทนายความได้ แต่ในการขึ้นทะเบียนทนายความนั้น ต้องขึ้นทะเบียนเป็นสมาชิกเนติบัณฑิตยสภาในฐานะสามัญสมาชิก (เรียนจบเนติ) หรือ วิสามัญสมาชิก (ไม่จบเนติ แต่สอบใบอนุญาตว่าความผ่าน) เสียก่อน ซึ่งในการขึ้นทะเบียนเนติบัณฑิต จะใช้เวลาประมาณ 3 เดือน หากใครไปขึ้นทะเบียนเนติบัณฑิตประเภทสามัญสมาชิกหรือวิสามัญสมาชิกแล้ว ก็สามารถขึ้นทะเบียนทนายความได้ในวันอบรมจริยธรรมเลย
 
**เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย**
 
สำหรับคนที่เรียนจบคณะนิติศาสตร์ จาก 5 สถาบัน ได้แก่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยรามคำแหง, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สามารถขึ้นทะเบียนเป็นวิสามัญสมาชิกเนติบัณฑิตได้เลย ตามข้อบังคับเนติบัณฑิตยสภา พ.ศ. 2507 ข้อ 5 (1) โดยไม่ต้องรอสอบปากเปล่าผ่าน
แต่ถ้าไม่ได้สำเร็จการศึกษาจาก 5 สถาบันข้างต้น จะถือเป็นผู้สมัครตามข้อบังคับเนติบัณฑิตยสภา พ.ศ. 2507ข้อ 5 (2) จึงต้องสอบปากเปล่าให้ผ่านเสียก่อนจึงจะขึ้นทะเบียนสมาชิกได้
 
หากใครสงสัยว่าทำไมมีแค่ 5 สถาบันที่ได้สิทธิพิเศษล่ะ คำตอบก็คือ 5 สถาบันดังกล่าวเป็นสถาบันที่เปิดสอนคณะนิติศาสตร์มายาวนานจนมีชื่อเสียงในเรื่องมาตรฐานของบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ค่ะ แต่ไม่ต้องน้อยใจไป เพราะการเป็นทนายไม่ได้วัดกันที่สถาบัน แต่วัดกันที่ความสามารถในการสอบ ไม่ว่าจะจบจากที่ไหน หากสอบใบอนุญา่ตผ่านก็มีเกียรติและศักดิ์ศรีในการเป็นทนายเท่าเทียมกัน อีกทั้งเมื่อสอบผ่าน ตัวเราก็ถือเป็นหนึ่งในผู้สร้างชื่อเสียงให้แก่สถาบัน เปิดทางให้รุ่นน้องในสถาบันเดียวกันได้มีโอกาสที่ดีขึ้นในทุกๆสนามสอบค่ะ


ทนายความเชียงราย 
ทนายความเชียงใหม่ 
ทนายความน่าน 
ทนายความพะเยา 
ทนายความแพร่ 
ทนายความแม่ฮ่องสอน 
ทนายความลำปาง 
ทนายความลำพูน 
ทนายความอุตรดิตถ์
ทนายความกาฬสินธุ์ 
ทนายความขอนแก่น 
ทนายความชัยภูมิ 
ทนายความนครพนม 
ทนายความนครราชสีมา 
ทนายความบึงกาฬ 
ทนายความบุรีรัมย์ 
ทนายความมหาสารคาม 
ทนายความมุกดาหาร 
ทนายความยโสธร 
ทนายความร้อยเอ็ด 
ทนายความเลย 
ทนายความสกลนคร 
ทนายความสุรินทร์ 
ทนายความศรีสะเกษ 
ทนายความหนองคาย 
ทนายความหนองบัวลำภู 
ทนายความอุดรธานี 
ทนายความอุบลราชธานี 
ทนายความอำนาจเจริญ 
ทนายความกำแพงเพชร 
ทนายความชัยนาท 
ทนายความนครนายก 
ทนายความนครปฐม 
ทนายความนครสวรรค์ 
ทนายความนนทบุรี 
ทนายความปทุมธานี 
ทนายความพระนครศรีอยุธยา 
ทนายความพิจิตร 
ทนายความพิษณุโลก 
ทนายความเพชรบูรณ์ 
ทนายความลพบุรี 
ทนายความสมุทรปราการ 
ทนายความสมุทรสงคราม 
ทนายความสมุทรสาคร 
ทนายความสิงห์บุรี 
ทนายความสุโขทัย 
ทนายความสุพรรณบุรี 
ทนายความสระบุรี 
ทนายความอ่างทอง 
ทนายความอุทัยธานี 
ทนายความจันทบุรี 
ทนายความฉะเชิงเทรา 
ทนายความชลบุรี 
ทนายความตราด 
ทนายความปราจีนบุรี 
ทนายความระยอง 
ทนายความสระแก้ว 
ทนายความกาญจนบุรี 
ทนายความตาก 
ทนายความประจวบคีรีขันธ์ 
ทนายความเพชรบุรี 
ทนายความราชบุรี 
ทนายความกระบี่ 
ทนายความชุมพร 
ทนายความตรัง 
ทนายความนครศรีธรรมราช 
ทนายความนราธิวาส 
ทนายความปัตตานี 
ทนายความพังงา 
ทนายความพัทลุง 
ทนายความภูเก็ต 
ทนายความระนอง 
ทนายความสตูล 
ทนายความสงขลา 
ทนายความสุราษฎร์ธานี 
ทนายความยะลา 
ทนายความกรุงเทพมหานคร
 
ทนายความคลองสาน 
ทนายความคลองสามวา 
ทนายความคลองเตย
ทนายความคันนายาว 
ทนายความจอมทอง 
ทนายความดอนเมือง
ทนายความดินแดง 
ทนายความดุสิต 
ทนายความตลิ่งชัน 
ทนายความทวีวัฒนา
ทนายความทุ่งครุ 
ทนายความธนบุรี 
ทนายความบางกอกน้อย
ทนายความบางกอกใหญ่ 
ทนายความบางกะปิ 
ทนายความบางคอแหลม
ทนายความบางซื่อ 
ทนายความบางนา 
ทนายความบางพลัด 
ทนายความบางรัก
ทนายความบางเขน 
ทนายความบางแค 
ทนายความบึงกุ่ม 
ทนายความปทุมวัน
ทนายความประเวศ 
ทนายความป้อมปราบศัตรูพ่าย 
ทนายความพญาไท
ทนายความพระนคร 
ทนายความพระโขนง 
ทนายความภาษีเจริญ 
ทนายความมีนบุรี
ทนายความยานนาวา 
ทนายความราชเทวี 
ทนายความราษฎร์บูรณะ
ทนายความลาดกระบัง 
ทนายความลาดพร้าว 
ทนายความวังทองหลาง
ทนายความวัฒนา 
ทนายความสวนหลวง 
ทนายความสะพานสูง
ทนายความสัมพันธวงศ์ 
ทนายความสาทร 
ทนายความสายไหม
ทนายความหนองจอก 
ทนายความหนองแขม 
ทนายความหลักสี่ 
ทนายความห้วยขวาง
ทนายความเมืองนครปฐม 
ทนายความกำแพงแสน 
ทนายความดอนตูม
ทนายความนครชัยศรี 
ทนายความบางเลน 
ทนายความพุทธมณฑล 
ทนายความสามพราน
ทนายความเมืองนนทบุรี 
ทนายความบางกรวย 
ทนายความบางบัวทอง
ทนายความบางใหญ่ 
ทนายความปากเกร็ด 
ทนายความไทรน้อย
ทนายความเมืองปทุมธานี 
ทนายความคลองหลวง 
ทนายความธัญบุรี
ทนายความลาดหลุมแก้ว 
ทนายความลำลูกกา 
ทนายความสามโคก 
ทนายความหนองเสือ
ทนายความเมืองสมุทรปราการ 
ทนายความบางพลี 
ทนายความบางเสาธง
ทนายความพระประแดง
 ทนายความพระสมุทรเจดีย์
ทนายความเมืองระยอง
ทนายความนิคมพัฒนา 
ทนายความเขาชะเมา
ทนายความบ้านฉาง 
ทนายความปลวกแดง 
ทนายความวังจันทร์ 
ทนายความแกลง
ทนายความเมืองชลบุรี 
ทนายความเกาะจันทร์ 
ทนายความบางละมุง
ทนายความบ่อทอง  
ทนายความบ้านบึง 
ทนายความพนัสนิคม
ทนายความพานทอง
ทนายความศรีราชา 
ทนายความสัตหีบ 
ทนายความหนองใหญ่ 
ทนายความเกาะสีชัง
ทนายความเมืองสมุทรสาคร 
ทนายความกระทุ่มแบน 
ทนายความบ้านแพ้ว 
ทนายความมหาชัย
ทนายความเมืองสมุทร
ทนายความอัมพวา 
ทนายความบางคนที
ทนายความเมืองราชบุรี 
ทนายความบ้านคา 
ทนายความจอมบึง
ทนายความดำเนินสะดวก 
ทนายความบางแพ 
ทนายความบ้านโป่ง
ทนายความปากท่อ
ทนายความวัดเพลง 
ทนายความสวนผึ้ง 
ทนายความโพธาราม
ทนายความเมืองฉะเชิงเทรา 
ทนายความคลองเขื่อน 
ทนายความท่าตะเกียบ 
ทนายความบางคล้า
ทนายความบางน้ำเปรี้ยว 
ทนายความบางปะกง 
ทนายความบ้านโพธิ์
ทนายความพนมสารคาม
ทนายความราชสาส์น 
ทนายความสนามชัยเขต 
ทนายความแปลงยาว
ทนายความเมืองนครนายก 
ทนายความปากพลี 
ทนายความบ้านนา 
ทนายความองครักษ์
 
Engine by shopup.com