35820588

เรื่องควรรู้ วิธีสร้างบ้าน ว่าจ้างช่างรับเหมาเองต้องดูอะไรบ้าง ปี 2023

หมวดหมู่สินค้า: A62 รับเหมาสร้างวัด

30 มีนาคม 2566

ผู้ชม 129 ผู้ชม

รับออกแบบ 3D 2Dแบบก่อสร้าง รับทำภาพสามมิติ รับเขียนแบบออกแบบ ตรงตามความต้องการ ภาพสวยเสมือนจริง
รับเขียนแบบโบสถ์ผลงานการออกแบบวัด
รับออกแบบก่อสร้างวิหาร
ออกแบบก่อสร้างเจดีย์
ออกแบบก่อสร้างศาลาวัด
ออกแบบก่อสร้างหอระฆัง
ออกแบบก่อสร้างเมรุ
ออกแบบก่อสร้างศาลาการเปรียญ 
ออกแบบก่อสร้างซุ้มประตู
ออกแบบก่อสร้างหอระฆัง
 
                            ติดต่อสอบถาม     





เรื่องควรรู้ วิธีสร้างบ้าน ว่าจ้างช่างรับเหมาเองต้องดูอะไรบ้าง
สำหรับวิธีสร้างบ้านด้วยตัวเอง ในปัจจุบันไม่ว่าใครก็สามารถทำได้ ไม่จำเป็นต้องไปซื้อบ้านในโครงการแบบเป็นหลัง ๆ แต่ก็จำเป็นจะต้องศึกษาหาข้อมูลอย่างละเอียดถี่ถ้วนเสียก่อน ซึ่งหากใครที่อยากมีบ้านโดยไม่ซื้อบ้านในโครงการหรือบ้านที่สร้างเสร็จพร้อมอยู่ ซึ่งวิธีการสร้างบ้านเองที่ผู้คนนิยมใช้นั้นจะแบ่งป็นสองแบบ นั่นก็คือ การจ้างผู้รับเหมามาช่วยดูแลในการสร้างบ้าน แต่ก็ควรศึกษาข้อมูลวิธีสร้างบ้านเอาไว้อย่างละเอียด ไม่ว่าจะเป็นการเลือกซื้อวัสดุที่ใช้ด้วยตัวเอง การประเมินราคาค่าวัสดุต่าง ๆ เพื่อป้องกันการโดนโก่งราคาจากผู้รับเหมา หรืออีกหนึ่งวิธีก็คือการเลือกใช้บริษัทรับสร้างบ้าน ซึ่งจะมีการกำหนดงบประมาณในการสร้างบ้านไว้ตั้งแต่แรกตามที่ตกลงกันไว้ รวมไปถึงระยะเวลาในการสร้างบ้าน รวมไปถึงการออกแบบและดูแลการออกแบบบ้านด้วยสถาปนิก และควบคุมการสร้างงานด้วยวิศวกรมืออาชีพ การสร้างบ้านบริษัทจึงทำให้มั่นใจได้ว่าจะได้วัสดุในการใช้สร้างบ้านที่ได้มาตรฐานและมีการกำหนดเวลาการสร้างบ้านที่แน่นอนได้อีกด้วย ซึ่งในบทความนี้เราจะมาพูดถึงวิธีสร้างบ้าน, ขั้นตอนสร้างบ้านเอง, สร้างบ้านเองราคา ค่าใช้จ่ายในการสร้างบ้าน, ตารางเวลาการสร้างบ้าน รวมไปถึงข้อมูลต่าง ๆ ที่ควรรู้ในการสร้างบ้านเอง
 
วิธีสร้างบ้านเองเหมาะกับใคร เทียบการซื้อบ้านโครงการหรือบ้านสร้างเสร็จพร้อมอยู่
          พูดได้ว่าวิธีสร้างบ้านเอง เหมาะกับคนที่มีที่ดินเปล่าอยู่แล้ว หรืออยากได้บ้านสักหลังที่สามารถออกแบบได้ด้วยตัวเองแบบถูกใจ หรือเหมาะสมกับความต้องการของครอบครัวและความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับตัวเอง ซึ่งในเรื่องของการสร้างบ้านเองกับการซื้อบ้านในโครงการหรือบ้านสร้างเสร็จพร้อมอยู่นั้น ก็จะมีความแตกต่างกันทั้งข้อดีและข้อเสีย ซึ่งในบทความนี้เราจะพาไปดูกันว่า วิธีสร้างบ้านเองหรือซื้อบ้านในโครการแบบพร้อมอยู่ แบบไหนที่เหมาะกับเรามากกว่ากัน
 
วิธีสร้างบ้านเอง
ทำเลที่ตั้งและงบประมาณ
- ข้อดี ของการมีบ้านด้วยวิธีสร้างบ้านด้วยตัวเองคือ เราสามารถเลือกหาทำเลที่ตั้งได้ตามที่ตัวเองต้องการ อีกทั้งยังสามารถกำหนดขอบเขตของงบประมาณ การเลือกใช้วัสดุ รวมไปถึงหากใครที่มีที่ดินเป็นของตัวเองอยู่แล้ว ก็จะทำให้ประหยัดงบประมาณในการสร้างบ้านได้มากขึ้นไปอีก
- ข้อเสีย ของการมีบ้านด้วยวิธีสร้างบ้านด้วยตัวเองคือ เราไม่สามารถกำหนดขอบเขตของสภาพแวดล้อมภายนอก ที่ใกล้เคียงกับทำเลที่ตั้งได้ ว่าในอนาคตจะมีอะไรที่สร้างขึ้นมาใกล้เคียงกับเราอีกรึเปล่า และในส่วนของงบประมาณหากเราไม่คุมงบประมาณกับผู้รับเหมาไว้อย่างชัดเจน หรือหาข้อมูลเรื่องการสร้างบ้านไว้ดีพอก็อาจจะทำให้งบบานปลายได้
 
การออกแบบบ้าน
- ข้อดี ของการมีบ้านด้วยวิธีสร้างบ้านด้วยตัวเองคือ เราสามารถออกแบบบ้าน หรือกำหนดขอบเขตของตัวบ้านเช่น จำนวนห้องนอน การตกแต่งห้องนอน ขนาดของห้อง รูปแบบของบ้าน สีที่ใช้ รวมไปถึงรายละเอียดการออกแบบและตกแต่งบ้านได้ตรงตามใจชอบหรือสามารถให้สถาปนิกช่วยออกแบบบ้านที่เหมาะสมกับครอบครัวหรือเหมาะสมตามที่เราต้องการ
- ข้อเสีย ของการมีบ้านด้วยวิธีสร้างบ้านด้วยตัวเองคือ เราจะไม่สามารถปล่อยปะละเลยในขั้นตอนของการสร้างบ้านเองได้ ถึงแม้จะฝากบ้านไว้กับผู้รับเหมาหรือมีบริษัทช่วยดูแล เพราะถ้ามีการแพ้แบบหรือรายละเอียดต่าง ๆ ที่ต้องแก้ไขเพิ่มเติม ก็อาจจะใช้เวลาในการสร้างบ้านที่นานขึ้น และเสียเงินในการสร้างบ้านที่มากเกินกว่างบที่วางไว้
 
ระบบรักษาความปลอดภัย
- ข้อดี ของการมีบ้านด้วยวิธีสร้างบ้านด้วยตัวเองคือ เราสามารถสร้างขอบเขตของการติตตั้งระบบรักษาความปลอดภัยได้ด้วยตัวเอง และสามารถทำได้หลากหลายช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นการสร้างรั้วที่มีรวดหนามสูง การออกแบบกำแพงบ้าน รวมไปถึงการติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยเช่น สัญญาณกันขโมยภายในบ้าน หรือการติดตั้งกล้องวงจรปิดไว้รอบ ๆ บ้านก็ทำได้เช่นกัน
- ข้อเสีย ของการมีบ้านด้วยวิธีสร้างบ้านด้วยตัวเองคือ แม้ว่าจะมีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดีมากแค่ไหน แต่ก็ยังมีระบบรักษาความปลอดภัยที่ต่ำกว่าหมู่บ้าน ที่มียามรักษาความปลอดภัยในตัวหมู่บ้าน ก่อนที่จะเข้ามาภายในหมู่บ้าน และบริเวณรอบหมู่บ้านจะมีแต่ผู้พักอาศัยเป็นส่วนมากเท่านั้น
 
การซื้อบ้านพร้อมอยู่หรือซื้อบ้านของโครงการ
ทำเลที่ตั้งและงบประมาณ
- ข้อดี ของการซื้อบ้านพร้อมอยู่หรือซื้อบ้านของโครงการคือ สามารถเลือกที่ตั้งหรือทำเลที่เหมาะสม และเดินทางสะดวกได้ เพราะโครงการบ้านที่สร้างใหม่ จะเน้นพื้นที่ที่มีสิ่งอำนวยความสะดวกครบครัน ทั้งในเรื่องของ ระบบการขนส่งเช่น รถโดยสารประจำทาง, รถไฟฟ้า และสามารถเลือกซื้อบ้านได้ตามงบประมาณที่มีอยู่ รวมไปถึงเลือกซื้อตามโปรโมชั่นที่ทางโครงการจัดไว้ให้ได้อีกด้วย
 
การออกแบบบ้าน
- ข้อดี ของรู้วิธีสร้างบ้านด้วยตัวเองคือ ทางโครงการจะกำหนดการออกแบบวางโครงสร้างโดยสถาปนิกมืออาชีพ ไปในธีมเดียวกัน ตามรูปแบบและสไตล์ต่าง ๆ ของโครงการที่เราสามารถเลือกได้ตรงกับความชอบของเราได้ ในขณะเดียวกันการออกแบบบ้านของการซื้อบ้านพร้อมอยู่หรือซื้อบ้านของโครงการ
- ข้อเสีย  ก็มีข้อเสียก็มีตรงที่ เราจะไม่สามารถแก้ไขปรับเปลี่ยนในบางจุดที่เราไม่ชอบ หรือแก้ไขให้ตรงกับความต้องการของเราแบบร้อยเปอร์เซ็นต์ได้
 
ระบบรักษาความปลอดภัย
- ข้อดี ของการการซื้อบ้านพร้อมอยู่หรือซื้อบ้านของโครงการมีระบบการรักษาความปลอดภัยสูง ครอบคลุมทั้งโครงการ ที่จะไม่ให้คนนอกเข้าไปโดยไม่มีการตรวจสอบ เพราะในโครงการจะมีการให้คนนอกแลกบัตรก่อนเข้า มีการจัดตั้งรปภ. สลับกันตลอด 24 ชั่วโมงเพื่อคอยตรวจสอบความปลอดภัยในช่วงระหว่างวัน นอกจากนี้ยังมีการใช้ระบบรักษาความปลอดภัยด้วยการติดกล้อง CCTV รอบตัวโครงการอีกด้วย
- ข้อเสีย ต้องเสียค่าใช้จ่ายส่วนกลางรายปี สำหรับค่ารักษาความปลอดภัยและอื่น ๆ
 
ขั้นตอนการสร้างบ้านเองมีอะไรบ้าง
          สำหรับวิธีสร้างบ้านด้วยตัวเอง สามารถทำได้ไม่ยากอย่างที่คิด แต่อย่างที่บอกไปแล้วว่า หากคิดที่จะสร้างบ้านด้วยตัวเองแล้ว เราควรศึกษาข้อมูลและการวางแผนวิธีสร้างบ้านอย่างระเอียด รวมไปถึงขั้นตอนสร้างบ้านเองที่เราจะมาพูดถึงในหัวข้อนี้กัน
 
ขั้นที่ 1 การตรวจสอบและจัดเตรียมการสร้างบ้าน
          สำหรับวิธีสร้างบ้านด้วยตัวเอง เราต้องเริ่มทำการตรวจสอบระดับของดิน บนพื้นที่ดินที่จะสร้างบ้าน เพื่อวางแผนการวางโครงสร้างของตัวบ้าน และทำการเตรียมการติดตั้งไฟฟ้าและการประปาแบบชั่วคราว ด้วยการไปยื่นเอกสารกับทางเจ้าหน้าที่เพื่อให้สามารถใช้น้ำและไฟในช่วยขณะที่กำลังก่อสร้างบ้านได้ โดยค่าใช้จ่ายส่วนนี้จะอยู่ที่ประมาณ 3 - 4 พันบาท
นอกจากการเตรียมตรวจสอบระดับดินและการติดตั้งน้ำไฟที่ต้องใช้สำหรับการเตรียมสร้างบ้านแล้ว ก็ยังต้องเตรียมที่พักไว้สำหรับคนงาน ก่อสร้าง ที่มีที่เก็บของ เพื่ออำนวยความสะดวกในการเดินทางและประหยัดเวลาในการก่อสร้าง
 
ขั้นที่ 2 ขั้นตอนการตอกเสาเข็ม ส่วนเริ่มแรกของวิธีสร้างบ้าน
          ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการตอกเสาเข็ม ซึ่งในขั้นตอนนี้จำเป็นต้องมีผู้ตรวจสอบและควบคุมดูแลขณะทำงานอย่างเคร่งครัด เพราะการตอกเสาเข็มจำเป็นจะต้องตอกให้มีความแข็งแรงสูงที่สุด และจะต้องจามเสาเข็มในแบบที่นักวิศวกรกำหนดเท่านั้น โดยปกติแล้วเราจะตอกเสาเข็มที่มีความยาวประมาณ 16 - 20 เมตร  โดยเข็มที่ใช้ตอกในตัวบ้านสองชั้นส่วนใหญ่ก็จะใช้เป็น เข็มตอก และเข็มเจาะ ซึ่งเข็มตอกจะเหมาะกับที่กว้าง ๆ ไม่มีสิ่งปลูกสร้างใกล้เคียง เพราะการตอกจะทำให้พื้นดินข้างใต้สะเทือนได้มากกว่า อาจจะทำให้ที่ดินของบ้านใกล้เคียงได้รับความเสียหายแตกร้าวไปด้วย ในขณะที่เข็มเจาะ จะเป็นการใช้เครื่องมือเจาะลึกลงไปกับพื้นดินและใช้เหล็กเข้าไปยัดไว้ในรูให้เป็นแกนฐานหลัก ซึ่งจะมีราคาที่สูงกว่าการใช้เข็มตอก แต่จะได้รับผลกระทบกับบ้านใกล้เคียงน้อยกว่าการใช้เข็มตอก
 
ขั้นที่ 3 โครงสร้างบ้าน
          หนึ่งในขั้นตอนวิธีสร้างบ้านที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างบ้าน เราจะทำการสร้างรากฐานในส่วนของผิวดิน ให้สามารถแบกรับน้ำหนักของต้นเสา ไปสู่ดินได้ด้วยการใช้คอนกรีตแบบเสริมเหล็กเป็นฐานในการสร้างโครงบ้าน ก่อนจะหล่อคอนกรีตในส่วนของเสา และคานชั้นล่างเป็นลำดับต่อไป หลังจากทำฐานโครงสร้างบ้านเสร็จแล้ว วิธีสร้างบ้านต่อไปเราก็จะทำการวางระบบติดตั้งท่อกำจัดปลวก ที่จะต้องใช้ PVC ขนาด 4 หุน เพื่อมาขึ้นรูปเป็นตัวท่อ และเริ่มหล่อคอนกรีตมาใช้สำหรับการทำเสา และคานของตัวบ้านชั้นบนเป็นลำดับต่อไป หลังจากนั้นก็ทำการเทพื้นปูนบ้านชั้นบน และติดตั้งโครงเหล็กในส่วนต่าง ๆ เช่น บันได รวมไปถึงการสร้างประตู โครงห้องต่าง ๆ ต่อไปตามลำดับ ซึ่งเหล็กที่นำมาใช้เป็นส่วนหนึ่งในวิธีสร้างบ้าน มักจะต้องมีคุณสมบัติของความแข็งแรง ทนทานสูง ซึ่งปกติแล้วช่างจะนิยมใช้เหล็ก Wide Flange Shapes , H-Beam และ I-Beam มาเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างบ้าน
 
ขั้นที่ 4 งานออกแบบตกแต่ง ภาพลักษณ์ขั้นสุดท้ายของวิธีสร้างบ้าน
          ต่อมาวิธีสร้างบ้านด้วยตัวเองในส่วนนี้ จะเข้าสู่การตกแต่งและการสร้างตัวบ้านทั้งภายนอกและภายใน เราจะเริ่มจากการติดตั้งแผ่นสะท้องความร้อน เพื่อทำการสะท้อนความร้อนที่สูง เพื่อช่วยให้บ้านเย็นสบาย ไม่ร้อนอบอ้าว หลังจากนั้นก็เลือกใช้เหล็ก มาทำมุงหลังคาบ้าน ซึ่งเหล็กที่นิยมนำมาใช้ก็คือ เหล็กตัวซี หรือแปซี เนื่องจากเหล็กตัวนี้จะมีความแข็งแรงสูง ทนทาน เหมือนนำมาใช้เป็นโครงสร้างหลังคามากที่สุด หลังจากนั้นก็จะเข้าสู่ขั้นตอนการจัดวางแนวผนังของตัวบ้าน การจัดวัดระยะ และแบ่งห้องให้เป็นสัดส่วน ชัดเจน มีการติดตั้งวงกบไม้ที่เป็นส่วนสำคัญในการยึดหรือเชื่อมกรอบผนัง และทำการก่ออิฐในผนังบ้านต่าง ๆ ให้เป็นระเบียบสวยงาม ก่อนจะเข้าสู่การฉาบปูน ทาสีบ้าน ปูกระเบื้องพื้น หรือพื้นไม้ลามิเนต ผนังตามส่วนต่าง ๆ ของบ้าน ติดตั้งประตู หน้าต่าง และสิ่งต่าง ๆ ในบ้านพร้อมตกแต่งทาสีตามที่ต้องการ
 
ขั้นที่ 5 ติดตั้งระบบไฟฟ้าทั้งภายในและภายนอกตัวบ้าน
          ในขั้นตอนวิธีสร้างบ้านด้วยตัวเอง ในส่วนนี้จะเป็นการติดตั้งระบบไฟฟ้าทั้งภายในและภายนอกของบ้าน ซึ่งจะนิยมเดินสายไฟแบบฝังผนัง โดยหลังจากการติดตั้งระบบไฟฟ้าทั้งหมดแล้ว จำเป็นที่จะแจ้งการไฟฟ้าเพื่อมาตรวจสอบ และทำการเดินสายไฟมิเตอร์สำหรับการต่อไฟฟ้าภายนอกอีกครั้ง นอกจากการติดตั้งระบบไฟฟ้าแล้ว ก็ยังต้องมีการติดตั้งท่อระบบสำหรับการประปา ที่สามารถทำไปพร้อม ๆ กับการก่อสร้างผนังบ้านได้ หลังจากนี้ก็จะเป็นการติดตั้งระบบสัญญาณต่าง ๆ ภายในบ้าน เช่นสัญญาณกันขโมย การติดตั้งกล้องวงจรปิด และการติดตั้งระบบท่อระบายน้ำเสีย และทำการทำความสะอาดบ้าน ตกแต่งขนย้ายเฟอร์นิเจอร์เข้าบ้าน แค่นี้ก็เสร็จเรียบร้อยแล้ว
 
การขอใบอนุญาตสร้างบ้านและขั้นตอนติดต่อราชการ
การขออนุญาตก่อสร้างบ้าน
1. ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างบ้านที่สำนักงานเขตท้องถิ่น ในพื้นที่ที่จะสร้างบ้าน
 
2. เจ้าหน้าที่สำนักงานเขตท้องถิ่น จะทำการตรวจสอบแบบแปลนบ้านและสิ่งปลูกสร้างก่อน ถึงจะดำเนินวิธีสร้างบ้านได้
 
3. หลังจากนั้นเราจะได้รับหนังสืออนุญาตให้ก่อสร้าง แต่หากไม่ได้รับอนุญาตในการก่อสร้าง ในบางกรณีอาจจะมีให้แก้ไขรายละเอียดในบางรายการ ก็ต้องดำเนินการแก้ไข และยื่นขออนุญาตอีกครั้ง
 
4. หลังจากได้เอกสารมาแล้ว ก็แนะนำว่าให้ถ่ายสำเนาและยื่นให้กับสถาปนิกหรือผู้รับเหมา เพื่อทำการดำเนินการต่อไป
 
หลักฐานที่ใช้การยื่นขออนุญาตก่อสร้างส่วนหนึ่งของวิธีสร้างบ้าน
1. กรอกคำขออนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคารหรือรื้อถอนอาคาร (ข.1) ให้เรียบร้อย
 
2. เตรียมเอกสารเกี่ยวกับตัวบ้าน เช่น แปลนบ้าน แบบบ้าน และรายละเอียดการก่อสร้างที่ได้รับการออกแบบและมีมาตรฐานที่มีสถาปนิกและวิศวกรเป็นผู้เซ็นรับรองแบบ หรือสามารถดาวน์โหลดแบบมาตรฐานจากสำนักงานเขตท้องถิ่นในจังหวัดนั้น ๆ ไปยื่นติดต่อก็ได้เช่นกัน
 
3. เตรียมหนังสือรับรองจากสถาปนิกผู้ออกแบบบ้าน และเอกสารจากวิศวกรงานก่อสร้าง
 
4. เตรียมสำเนาโฉนดที่ดินที่จะก่อสร้าง หากเป็นกรณีการเช่าที่ดิน จะต้องได้รับลายเซ็นต์ยินยอมจากเจ้าของบ้าน 
 
5. เตรียมสำเนาบัตรประชาชน หรือทะเบียนบ้านเจ้าของเจ้าของที่ดิน หรืออาคารก่อสร้าง
 
การเลือกช่างผู้รับเหมา โจทย์ใหญ่ของวิธีสร้างบ้าน
1. เลือกช่างผู้รับเหมาที่มีความเชี่ยวชาญด้านงานช่างรู้วิธีสร้างบ้านใหม่
          โดยปกติแล้วผู้รับเหมาก่อสร้าง จะมีประสบการณ์และความชำนาญที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับประสบการณ์การทำงานและลักษณะการก่อสร้างที่ทำ ซึ่งวิธีสร้างบ้านจะมีทั้งที่มีความซับซ้อนไม่เยอะมากนัก เช่น ที่พักห้องเช่าขนาดเล็ก ไปจนถึง อาคารโครงสร้างขนาดใหญ่ หากใครที่คิดจะเลือกผู้รับเหมาให้มาสร้างบ้าน ควรเลือกผู้รับเหมาที่มีความชำนาญในการสร้างตัวบ้าน รู้พื้นฐานของความแข็งแรง โครงสร้าง วัสดุ รวมไปถึงรายละเอียดต่าง ๆ เช่นการออกแบบตกแต่งพื้นผิว และการขึ้นโครงสร้างต่าง ๆ ภายในบ้าน
 
2. ผู้รับเหมามีผลงานจริงให้ดู สามารถตรวจสอบได้ น่าเชื่อถือ
          สิ่งสำคัญในการเลือกผู้รับเหมาก่อนจะตัดสินใจเซ็นสัญญากัน เราจำเป็นที่จะต้องขอดูผลงานที่ผ่านมาของผู้รับเหมาแต่ละเจ้า เช่น ผลงานการดำเนินการของบ้าน ที่เป็นรูปภาพ ที่มีกระบวนการการสร้างที่เห็นได้ชัดเจน หรือผลงานบ้านที่สร้างเสร็จแล้ว รวมไปถึงสอบถามข้อมูลเรื่องการใช้วัสดุ ความถนัดของช่าง ระยะเวลาการดำเนินการ งบประมาณการก่อสร้าง รวมไปถึงให้ช่างอธิบายรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมอื่น ๆ และตรวจสอบรีวิวหรือสอบถามจากผู้ที่เคยใช้งานจริง ๆ ว่าเป็นอย่างไรบ้างก่อนเลือกใช้บริการ
 
3. ช่างผู้รับเหมามีทัศนคติในการทำงานตรงกับเรา
          นอกจากความเชี่ยวชาญของผู้รับเหมาแล้ว ทัศนคติในการวางแผนวิธีสร้างบ้าน แพลนการมองภาพรวมของการสร้างบ้าน ก็เป็นเรื่องที่ต้องคำนึงถึงด้วยเช่นกัน ทางที่ดีควรเลือกคุยกับผู้รับเหมาไว้ 2 - 3 เจ้า เพื่อดูว่าเจ้าไหนที่มีการมองภาพรวมในการสร้างบ้านที่ตรงกับเรา เพื่อให้การสร้างบ้านราบรื่นและเป็นไปในแบบที่เราต้องการ
 
4. ช่างผู้รับเหมา มีมาตรฐานในการทำงาน
          อีกหนึ่งจุดสำคัญในของวิธีสร้างบ้านด้วยการใช้ผู้รับเหมาก็คือ มาตรฐานการทำงานที่แน่นอน เช่น ตารางเวลาการสร้างบ้านที่ชัดเจน มีการแนะนำเรื่องราคา อุปกรณ์และวัสดุที่ใช้ที่เป็นมาตรฐานเพื่อให้การออกแบบบ้านเป็นไปได้อย่างมีคุณภาพ ชัดเจนแน่นอน สามารถประเมินราคา การแก้ไขและดำเนินการให้เสร็จทันเวลา เพื่อให้บ้านออกมาได้ทันตามที่กำหนดไว้และไม่ผิดเพี้ยนจากรูปแบบการดำเนินการที่คุยกันไว้ตั้งแต่ต้
 
งบประมาณในการสร้างบ้านเองคำนวณคร่าว ๆ
          ในการกำหนดการของวิธีสร้างบ้านด้วยตัวเอง เราต้องตั้งงบคร่าว ๆ ไว้ในใจก่อนว่ามีเงินสดจำนวนเท่าไหร่ ก่อนจะติดต่อกับธนาคารเพื่อทำเรื่องกู้เรื่องเงิน และงบประมาณที่จะนำมาใช้ในการสร้างบ้าน ก่อนจะเริ่มตามหาแบบบ้านในฝันว่าอยากให้เป็นประมาณไหน ในขั้นตอนนี้เราอาจจะใช้การติดต่อกับคนรู้จักที่มีความชำนาญมาให้ช่วยดูหรือออกแบบแปลนบ้านหรือดาวน์โหลดตามเว็บไซต์ก็ได้เช่นกัน
 
เมื่อตั้งงบประมาณได้และหารูปแบบแปลนบ้านในฝันได้แล้ว ก็ถึงเวลาที่จะต้องลงมือคำนวณค่าก่อสร้างกันอย่างจริงจัง โดยเริ่มดูก่อนว่าพื้นที่ใช้สอยภายในบ้านมีทั้งหมดเท่าไหร่ และคำนวณต่อว่าเราจะใช้วัสดุประเภทไหน มีเกรดประมาณไหน จะได้ทำการคำนวณราคาที่ใช้ในการสร้างบ้านแบบคร่าว ๆ ได้ หรืออาจจะใช้เกณฑ์การประเมินราคา ที่กำหนดโดยมูลนิธิประเมินประเมินค่าทรัพย์สินแห่งประเทศไทย แบบที่คนส่วนใหญ่นิยมใช้กันก็ได้เช่นกัน เพียงแต่ต้องจำไว้ว่า การประเมินราคาในครั้งนี้เป็นแค่เกณฑ์คร่าว ๆ ซึ่งจะมีราคาที่ต่ำกว่าเงินที่ต้องใช้จริงเสมอ เพราะหากมีการใช้วัสดุที่เกรดดี หรือมีการต่อเติมสร้างความสวยความ มากเป็นพิเศษก็จะต้องมีราคาที่แพงขึ้นไปอีก
 
การวางแผนตารางเวลาในการสร้างบ้าน
          ในการวางแผนการสร้างบ้านด้วยวิธีสร้างบ้านด้วยตัวเอง จะแบ่งออกเป็น 4 ช่วงคือ ช่วงการลงเสาเข็ม ในส่วนนี้หากใช้การลงเสาเข็มแบบตอก จะมีกำหนดระยะเวลาที่ใช้ประมาณ 3 - 5 วัน ในขณะเดียวกันหากใช้วิธีการเจาะเสาเข็ม จะใช้ระยะเวลาที่นานกว่านั้น ซึ่งระยะเวลาจะอยู่ที่ประมาณ 5 - 10 วัน
 
          ถัดมาจะเป็นช่วงของการก่อสร้างโครงสร้างบ้าน ในขั้นตอนนี้โดยทั่วไปสำหรับผู้รับเหมาจะใช้เวลา 2 - 3 เดือน ในการก่อสร้าง แต่หากเป็นบริษัทที่ใช้ในการรับเหมาก็อาจจะมีระยะเวลาที่เร็วกว่านั้น
 
          ต่อไปจะเป็นช่วงสถาปัตยกรรม หรือการตกแต่งรวมไปถึงการออกแบบภายในและนอกตัวบ้าน จะใช้เวลาประมาณ 4 เดือน (ขั้นตอนนี้เราสามารถใช้โปรแกรมออกแบบภายในเพื่อนำเสนอผู้ออกแบบในสิ่งที่ต้องการได้) โดยแบ่งออกเป็น การทำงานก่ออิฐ และฉาบปูน ซึ่งจะใช้ระยะเวลาประมาณ 2 เดือน
 
การทำงานระบบภายในบ้าน  เช่น การเดินระบบไฟฟ้า การประปา และสุขภัณฑ์ รวมไปถึงการติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยอื่น ๆ จะใช้เวลาประมาณ  2-3สัปดาห์ ซึ่งถ้าหากรวมระยะเวลาคร่าว ๆ ภาพรวมวิธีสร้างบ้านทั้งหมด 1 หลังจะอยู่ที่ประมาณ 6 - 12 เดือน นั่นเองค่ะ
 
ฤดูที่เหมาะสมในการสร้างบ้าน
          ช่วงเวลาที่เหมาะสมตามสภาพภูมิอากาศของบ้านเรา จะอยู่ที่ช่วงฤดูหนาว หรือประมาณต้นเดือนพฤศจิกายน ไปจนถึงเดือนมกราคม โดยในช่วงนี้จะเป็นการสร้างโครงสร้างพื้นฐานของตัวบ้าน ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 2 - 4 เดือน ขึ้นอยู่กับสภาพโครงสร้างและความซับซ้อนในการสร้างบ้าน
 
          แต่หากใครที่จำเป็นจะต้องเริ่มต้นก่อนสร้างบ้านในช่วงฤดูฝน ก็ทำได้ด้วยเช่นกัน แต่จำเป็นที่จะต้องหาอะไรมาคลุมเพื่อปกป้องผิวของคอนกรีตเสริมเหล็กจากฝน ในช่วงของการทำโครงสร้างบ้าน เพื่อป้องกันน้ำฝนที่อาจส่งผลให้ความแข็งแรงของคอนกรีตลดลง จากการเปลี่ยนแปลงของอัตราส่วนของคอนกรีตจากการโดนทำลายของน้ำฝน และอาจจะต้องใช้เวลาในการสร้างบ้านที่นานกว่าปกติเพราะสภาพอากาศจะมีผลต่อวิธีสร้างบ้านที่ลำบากขึ้นด้วยเช่นกัน แต่หากมีการวางแผนในการรับมือและดำเนินการที่ดีก็สามารถทำได้ในช่วงนี้เช่นกัน
 
ข้อแนะนำและสิ่งที่ควรเลี่ยงในการสร้างบ้านเอง
การออกแบบบ้าน
          การออกแบบบ้าน ถือเป็นอีกหนึ่งสิ่งสำคัญในวิธีสร้างบ้าน ที่ไม่ใช่เพียงแค่ความสวยงามของบ้านเท่านั้น แต่ต้องออกแบบให้ตอบโจทย์กับการใช้ชีวิต และความเป็นอยู่ รวมไปถึงไลฟ์สไตล์ของสมาชิกคนในครอบครัวและเจ้าของบ้านที่พักอาศัยอีกด้วย  นอกจากนี้ยังควรคำนึงถึงความปลอดภัยของการออกแบบบ้าน และการจัดวางตำแหน่งของห้องต่าง ๆ ที่จะต้องคำนึกถึงความเป็นส่วนตัว ความโปร่งโล่ง สบาย และเป็นสัดส่วน
 
วัสดุ อุปกรณ์ในการก่อสร้าง
          ไม่ใช่แค่เพียงความสวยงามของตัววัสดุเท่านั้น แต่ในการเลือกวัสดุที่นำมาใช้ในวิธีสร้างบ้านนั้น ยังควรต้องคำนึงถึง ลักษณะของการใช้งานที่เหมาะสมกับตัวบ้าน  และสภาพแวดล้อมรอบ ๆ บ้านด้วยเช่นกัน ควรเลือกวัสดุที่ทนทานต่อสภาพอากาศ ทนทานต่อแสงแดด และฝน และควรเลือกวัสดุที่มั่นคงและมีเกรดที่ดีในระดับหนึ่งเพื่อจะได้ใช้งานได้ยาว ๆ และไม่ต้องเสียค่าซ่อมแซมอยู่บ่อย ๆ
 
ระบบน้ำและระบบไฟฟ้า
          นอกจากการออกแบบและการเลือกใช้วัสดุในการตกแต่งบ้านแล้ว เรายังต้องคำนึงถึงการวางระบบน้ำและระบบไฟให้ดีอีกด้วย เพราะการวางระบบเกิดการผิดพลาด ก็อาจจะทำให้เกิดความสะดุดในการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น น้ำไม่ไหลระหว่างวัน หรือการเกิดเหตุการณ์ไฟฟ้าลัดวงจร ดังนั้นควรคำนึงถึงความปลอดภัยในการวางระบบเป็นหลักโดยควรให้วิศวกรผู้เชี่ยวชาญเป็นคนวางระบบต่าง ๆ ให้ เพื่อป้องกันการเกิดความผิดพลาดและอันตรายในภายหลัง
 
ผู้รับเหมาก่อสร้าง
          อย่างที่แนะนำไปแล้วว่า ในขั้นตอนวิธีสร้างบ้านด้วยตัวเอง เราควรคำนึงถึงการสร้างบ้านโดยผู้รับเหมาที่มีมาตรฐานสูง และไว้ใจได้เป็นหลัก ซึ่งอาจจะใช้วิธีการสอบถามความคิดเห็นของผู้เคยใช้บริการ หรืออ่านรีวิวการใช้บริการ รวมไปถึงดูจากผลงานที่ผ่าน ๆ มาและทัศนคติในการทำงานของผู้รับเหมาะ และควรทำสัญญาที่ชัดเจน รวมไปถึงกำหนดงบประมาณและราคา หรือถ้าจะให้ดีก็อาจจะดูเป็นบริษัทที่รับเหมาสร้างบ้านไปเลยก็ได้เช่นกัน
 
การตรวจรับบ้านของวิธีสร้างบ้าน
          มาถึงขั้นตอนสุดท้ายในการตรวจสอบรับบ้านกันแล้ว ในขั้นตอนนี้ เราจำเป็นที่จะต้องตรวจสอบการรับบ้านให้ครบทุกดจุด ทั้งตัวบ้านภายในและภายนอก ไม่ว่าจะเป็นรอยรั่ว พื้นพนังกำแพง หรือตามจุดต่าง ๆ ให้ครบทุกซอกทุกมุม รวมไปถึงระบบไฟฟ้า ประปา ห้องน้ำ ท่อก๊อกน้ำ ต่าง ๆ เพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการอยู่อาศัยของบ้านไม่ห้องมาเสียเวลารีโนเวทห้องน้ำภายหลัง และหากมีข้อผิดพลาด ก็จำเป็นที่จะต้องรอให้ผู้รับเหมาแก้ไขทุกจุดจนเสร็จเรียบร้อยก่อนถึงจะทำการเซ็นสัญญารับบ้าน และหากใครที่ไม่มั่นใจก็สามารถมองหาผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบบ้าน มาช่วยดูจุดต่าง ๆ ในขณะตรวจรับบ้านเพื่อป้องกันความผิดพลาดก็ได้เช่นกัน


สร้างศาลาวัดเชียงราย 
สร้างศาลาวัดเชียงใหม่ 
สร้างศาลาวัดน่าน 
สร้างศาลาวัดพะเยา 
สร้างศาลาวัดแพร่ 
สร้างศาลาวัดแม่ฮ่องสอน 
สร้างศาลาวัดลำปาง 
สร้างศาลาวัดลำพูน 
สร้างศาลาวัดอุตรดิตถ์
สร้างศาลาวัดกาฬสินธุ์ 
สร้างศาลาวัดขอนแก่น 
สร้างศาลาวัดชัยภูมิ 
สร้างศาลาวัดนครพนม 
สร้างศาลาวัดนครราชสีมา 
สร้างศาลาวัดบึงกาฬ 
สร้างศาลาวัดบุรีรัมย์ 
สร้างศาลาวัดมหาสารคาม 
สร้างศาลาวัดมุกดาหาร 
สร้างศาลาวัดยโสธร 
สร้างศาลาวัดร้อยเอ็ด 
สร้างศาลาวัดเลย 
สร้างศาลาวัดสกลนคร 
สร้างศาลาวัดสุรินทร์ 
สร้างศาลาวัดศรีสะเกษ 
สร้างศาลาวัดหนองคาย 
สร้างศาลาวัดหนองบัวลำภู 
สร้างศาลาวัดอุดรธานี 
สร้างศาลาวัดอุบลราชธานี 
สร้างศาลาวัดอำนาจเจริญ 
สร้างศาลาวัดกำแพงเพชร 
สร้างศาลาวัดชัยนาท 
สร้างศาลาวัดนครนายก 
สร้างศาลาวัดนครปฐม 
สร้างศาลาวัดนครสวรรค์ 
สร้างศาลาวัดนนทบุรี 
สร้างศาลาวัดปทุมธานี 
สร้างศาลาวัดพระนครศรีอยุธยา 
สร้างศาลาวัดพิจิตร 
สร้างศาลาวัดพิษณุโลก 
สร้างศาลาวัดเพชรบูรณ์ 
สร้างศาลาวัดลพบุรี 
สร้างศาลาวัดสมุทรปราการ 
สร้างศาลาวัดสมุทรสงคราม 
สร้างศาลาวัดสมุทรสาคร 
สร้างศาลาวัดสิงห์บุรี 
สร้างศาลาวัดสุโขทัย 
สร้างศาลาวัดสุพรรณบุรี 
สร้างศาลาวัดสระบุรี 
สร้างศาลาวัดอ่างทอง 
สร้างศาลาวัดอุทัยธานี 
สร้างศาลาวัดจันทบุรี 
สร้างศาลาวัดฉะเชิงเทรา 
สร้างศาลาวัดชลบุรี 
สร้างศาลาวัดตราด 
สร้างศาลาวัดปราจีนบุรี 
สร้างศาลาวัดระยอง 
สร้างศาลาวัดสระแก้ว 
สร้างศาลาวัดกาญจนบุรี 
สร้างศาลาวัดตาก 
สร้างศาลาวัดประจวบคีรีขันธ์ 
สร้างศาลาวัดเพชรบุรี 
สร้างศาลาวัดราชบุรี 
สร้างศาลาวัดกระบี่ 
สร้างศาลาวัดชุมพร 
สร้างศาลาวัดตรัง 
สร้างศาลาวัดนครศรีธรรมราช 
สร้างศาลาวัดนราธิวาส 
สร้างศาลาวัดปัตตานี 
สร้างศาลาวัดพังงา 
สร้างศาลาวัดพัทลุง 
สร้างศาลาวัดภูเก็ต 
สร้างศาลาวัดระนอง 
สร้างศาลาวัดสตูล 
สร้างศาลาวัดสงขลา 
สร้างศาลาวัดสุราษฎร์ธานี 
สร้างศาลาวัดยะลา 
สร้างศาลาวัดกรุงเทพมหานคร
 
สร้างศาลาวัดคลองสาน 
สร้างศาลาวัดคลองสามวา 
สร้างศาลาวัดคลองเตย
สร้างศาลาวัดคันนายาว 
สร้างศาลาวัดจอมทอง 
สร้างศาลาวัดดอนเมือง
สร้างศาลาวัดดินแดง 
สร้างศาลาวัดดุสิต 
สร้างศาลาวัดตลิ่งชัน 
สร้างศาลาวัดทวีวัฒนา
สร้างศาลาวัดทุ่งครุ 
สร้างศาลาวัดธนบุรี 
สร้างศาลาวัดบางกอกน้อย
สร้างศาลาวัดบางกอกใหญ่ 
สร้างศาลาวัดบางกะปิ 
สร้างศาลาวัดบางคอแหลม
สร้างศาลาวัดบางซื่อ 
สร้างศาลาวัดบางนา 
สร้างศาลาวัดบางพลัด 
สร้างศาลาวัดบางรัก
สร้างศาลาวัดบางเขน 
สร้างศาลาวัดบางแค 
สร้างศาลาวัดบึงกุ่ม 
สร้างศาลาวัดปทุมวัน
สร้างศาลาวัดประเวศ 
สร้างศาลาวัดป้อมปราบศัตรูพ่าย 
สร้างศาลาวัดพญาไท
สร้างศาลาวัดพระนคร 
สร้างศาลาวัดพระโขนง 
สร้างศาลาวัดภาษีเจริญ 
สร้างศาลาวัดมีนบุรี
สร้างศาลาวัดยานนาวา 
สร้างศาลาวัดราชเทวี 
สร้างศาลาวัดราษฎร์บูรณะ
สร้างศาลาวัดลาดกระบัง 
สร้างศาลาวัดลาดพร้าว 
สร้างศาลาวัดวังทองหลาง
สร้างศาลาวัดวัฒนา 
สร้างศาลาวัดสวนหลวง 
สร้างศาลาวัดสะพานสูง
สร้างศาลาวัดสัมพันธวงศ์ 
สร้างศาลาวัดสาทร 
สร้างศาลาวัดสายไหม
สร้างศาลาวัดหนองจอก 
สร้างศาลาวัดหนองแขม 
สร้างศาลาวัดหลักสี่ 
สร้างศาลาวัดห้วยขวาง
สร้างศาลาวัดเมืองนครปฐม 
สร้างศาลาวัดกำแพงแสน 
สร้างศาลาวัดดอนตูม
สร้างศาลาวัดนครชัยศรี 
สร้างศาลาวัดบางเลน 
สร้างศาลาวัดพุทธมณฑล 
สร้างศาลาวัดสามพราน
สร้างศาลาวัดเมืองนนทบุรี 
สร้างศาลาวัดบางกรวย 
สร้างศาลาวัดบางบัวทอง
สร้างศาลาวัดบางใหญ่ 
สร้างศาลาวัดปากเกร็ด 
สร้างศาลาวัดไทรน้อย
สร้างศาลาวัดเมืองปทุมธานี 
สร้างศาลาวัดคลองหลวง 
สร้างศาลาวัดธัญบุรี
สร้างศาลาวัดลาดหลุมแก้ว 
สร้างศาลาวัดลำลูกกา 
สร้างศาลาวัดสามโคก 
สร้างศาลาวัดหนองเสือ
สร้างศาลาวัดเมืองสมุทรปราการ 
สร้างศาลาวัดบางพลี 
สร้างศาลาวัดบางเสาธง
สร้างศาลาวัดพระประแดง
 สร้างศาลาวัดพระสมุทรเจดีย์
สร้างศาลาวัดเมืองระยอง
สร้างศาลาวัดนิคมพัฒนา 
สร้างศาลาวัดเขาชะเมา
สร้างศาลาวัดบ้านฉาง 
สร้างศาลาวัดปลวกแดง 
สร้างศาลาวัดวังจันทร์ 
สร้างศาลาวัดแกลง
สร้างศาลาวัดเมืองชลบุรี 
สร้างศาลาวัดเกาะจันทร์ 
สร้างศาลาวัดบางละมุง
สร้างศาลาวัดบ่อทอง  
สร้างศาลาวัดบ้านบึง 
สร้างศาลาวัดพนัสนิคม
สร้างศาลาวัดพานทอง
สร้างศาลาวัดศรีราชา 
สร้างศาลาวัดสัตหีบ 
สร้างศาลาวัดหนองใหญ่ 
สร้างศาลาวัดเกาะสีชัง
สร้างศาลาวัดเมืองสมุทรสาคร 
สร้างศาลาวัดกระทุ่มแบน 
สร้างศาลาวัดบ้านแพ้ว 
สร้างศาลาวัดมหาชัย
สร้างศาลาวัดเมืองสมุทร
สร้างศาลาวัดอัมพวา 
สร้างศาลาวัดบางคนที
สร้างศาลาวัดเมืองราชบุรี 
สร้างศาลาวัดบ้านคา 
สร้างศาลาวัดจอมบึง
สร้างศาลาวัดดำเนินสะดวก 
สร้างศาลาวัดบางแพ 
สร้างศาลาวัดบ้านโป่ง
สร้างศาลาวัดปากท่อ
สร้างศาลาวัดวัดเพลง 
สร้างศาลาวัดสวนผึ้ง 
สร้างศาลาวัดโพธาราม
สร้างศาลาวัดเมืองฉะเชิงเทรา 
สร้างศาลาวัดคลองเขื่อน 
สร้างศาลาวัดท่าตะเกียบ 
สร้างศาลาวัดบางคล้า
สร้างศาลาวัดบางน้ำเปรี้ยว 
สร้างศาลาวัดบางปะกง 
สร้างศาลาวัดบ้านโพธิ์
สร้างศาลาวัดพนมสารคาม
สร้างศาลาวัดราชสาส์น 
สร้างศาลาวัดสนามชัยเขต 
สร้างศาลาวัดแปลงยาว
สร้างศาลาวัดเมืองนครนายก 
สร้างศาลาวัดปากพลี 
สร้างศาลาวัดบ้านนา 
สร้างศาลาวัดองครักษ์
 
Engine by shopup.com