17473675

เข็มเจาะเขตคันนายาว

หมวดหมู่สินค้า: A298 เข็มเจาะ

17 สิงหาคม 2564

ผู้ชม 150 ผู้ชม

บริษัทรับเหมาตอกเสาเข็ม ไมโครไพล์ เสาเข็มเจาะ เสาเข็มสปัน เน้นคุณภาพ รวดเร็วทันเวลา ราคาโรงงานกดเข็มไฮโดรลิคไมโครไพล์ แก้ปัญหาบ้านทรุดตัว เข้าพื้นที่แคบได้ ดูหน้างานฟรี ผลงานของเรา
เสาเข็มเขตคันนายาว
เสาเข็มเจาะเขตคันนายาว
บริษัทรับตอกเสาเข็มไมโครไพล์เขตคันนายาว
เสาเข็มตอกเขตคันนายาว
รับตอกเสาไมโครไพล์เขตคันนายาว
รับตอกเสาเข็มเขตคันนายาว
เขตคันนายาวตอกเสาเข็ม Micropile
ปั้นจั่นตอกเสาเข็มเขตคันนายาว
รับตอกเสาเข็มไมโครไพล์เขตคันนายาว
ราคาเข็มเจาะเขตคันนายาว
ลงเสาเข็มราคาเขตคันนายาว
 
                                ติดต่อสอบถาม     

รับเจาะเสาเข็ม รับทำเสาเข็มเจาะเขตคันนายาว รับตอกเสาเข็มไมโครไพล์ เสาเข็มสปัน
รับเจาะเสาเข็ม รับทำเสาเข็มเจาะเขตคันนายาวรับตอกเสาเข็มไมโครไพล์ เสาเข็มสปัน
บริษัทรับตอกเสาเข็มไมโครไพล์เขตคันนายาวบริษัทรับทำเสาเข็มเจาะ คุณภาพเสาเข็มถูกต้องตามมาตรฐานสากล มีผลงานรับทำเสาเข็มเจาะ รับตอกเสาเข็มไมโครไพล์
ไมโครไพล์เขตคันนายาว
เสาเข็มไมโครไพล์เขตคันนายาว
เสาเข็มสปันไมโครไพล์เขตคันนายาว
เข็มเจาะเขตคันนายาว
ราคาเข็มเจาะเขตคันนายาว
ราคาเสาเข็มเจาะเขตคันนายาว
เข็มสปันเขตคันนายาว

 
1.เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเข้าศูนย์กลางเสาเข็มเจาะ ทำการปรับ 3 ขา ให้ได้ระดับศูนย์กลางของเสาเข็ม พร้อมตรวจสอบความถูกต้อง หลังจากนั้น ยึดแท่นเครื่องมือให้แน่น และใช้กระเช้าเจาะนำเป็นรูลึกประมาณ 1 เมตร

 
2.ตอกปลอกเหล็กเป็นการชั่วคราว
2.1 การตอกปลอกเหล็ก ขนาดและความยาว จะต้องมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 35 ซม 40 ซม 50 ซม 60 ซม ตามลำดับ โดยให้เสาเข็มเจาะ แต่ละท่อน มีความยาวประมาณ 1 เมตร ต่อกันด้วยระบบเกลียวในการทำงานจะตอกปลอกเหล็กผ่านชั้นดินอ่อน ซึ่งอยู่ด้านบนจนกระทั่งถึงขั้นดินแข็งปานกลาง เพื่อเป็นการป้องกัน การเคลื่อนพังของผนังรูเจาะในขั้นดินอ่อนและป้องกันน้ำ ใต้ดินไม่ให้ไหลซึมเข้าไปในรูเจาะ เพราะจะเป็นผลให้คุณภาพของคอนกรีตที่ผสมไม่ดีเท่าที่ควร

2.2 ควบคุมบังคับตำแหน่งให้ถูกต้อง และให้อยู่ในแนวดิ่ง โดยในการทำงาน การตอกปลอกเหล็กชั่วคราวลงไปแต่ละท่อนจะต้องตรวจสอบตำแหน่งศูนย์กลางของเสาเข็ม ตลอดจนแนวดิ่งอยู่เสมอ เพื่อเป็นการป้องงกันมิให้เข็มเจาะเอียง ไม่ตรง
ค่ามาตราฐาน ความเบี่ยงเบนที่อนุญาติ
• ความเบี่ยงเบนแนวราบ 5 เซนติเมตร สำหรับเสาเข็มเดี่ยว
• ความเบี่ยงเบนแนวราบ 7 เซนติเมตร สำหรับเสาเข็มกลุ่ม
• ความเบี่ยงเบนแนวดิ่ง 1 : 100 โดยรวม




3.การเจาะเสาเข็ม
 
3.1 อุปกรณ์ที่ใช้เจาะ ในช่วงดินอ่อนจะใช้กระเช้าชนิดมีลิ้นที่ปลายเก็บดินโดยใช้น้ำหนักของตัวมันเอง เมื่อกระเช้าถูกทิ้งไปในรูเจาะดินจะถูกอัดให้เข้าใปอยู่ในกระเช้าและจะไม่หลุดออกเพราะมีลิ้นกั้นอยู่ในเวลายกขึ้นมา ทำซ้ำกันเรื่อย ๆ จนดินถูกอัดเต็มกระเช้าจึงนำมาเทออก การเจาะจะดำเนินไปจนกระทั่งถึงขั้นดินแข็งปานกลาง จึงเปลี่ยนมาใช้กระเช้าชนิดไม่มีลิ้นที่ปลายเก็บต่อไปจนได้ความลึกที่ต้องการ
3.2 การเจาะเสาเข็ม จะต้องตรวจสอบการเคลื่อนพังของดินในขั้นที่ไม่มีปลอกเหล็กชั่วคราว ในระหว่างการเจาะเอาดินขึ้น จะหมั่นตรวจสอบว่าผนังดินพังหรือยุบเข้าหรือไม่ อย่างไร โดยสามารถดูจากชนิดของดินซึ่งเก็บขึ้นมา ซึ่งควรจะต้องสอดคล้องกับความลึกและคล้ายคลึงกับเข็มตันแรก ๆ แต่ถ้าเราตรวจสอบพบว่าดินเกิดเคลื่อนพังจะรีบแก้ไขในทันที โดยตอกปลอกเหล็กชั่วคราวให้ลึกลงเข้าไปอีก

 
4.ขั้นตอนตรวจสอบรูเจาะ ก่อนการใส่เหล็กเสริม
 
4.1 ตรวจวัดความลึก โดยวัดจากความยาวของสายสลิงรวมกับความยาวของกระเช้าตักดิน
4.2 ตรวจสอบก้นหลุม โดยใช้สปอร์ตไล้ท์ส่องดูก้นหลุมว่ามีการยุบเข้ามีน้ำซึมหรือไม่ กรณีที่มีน้ำซึมที่บริเวณก้นหลุมจะเทคอนกรีตแห้งลงไปประมาณ 50 ซม. และกระทุ้งให้แน่นด้วยตุ้มเหล็ก จากนั้นใช้ปูนทราย 1:1.5 เทลงไปประมาณ 30-50 ซม. ก่อนใส่เหล็กเสริม (ในกรณีที่มีน้ำซึมก้นหลุม)
 
5.การใส่เหล็กเสริม
 
5.1 ประเภทชนิดของเหล็กเสริม ส่วนเหล็กเส้นกลมตาม มอก. 20-2524( SR-24 ) ส่วนเหล็กเส้นข้ออ้อยตาม มอก.24-2524 ( SD-30 )
5.2 ขนาดและปริมาณเหล็กเสริม โดยการต่อเหล็ก จะใช้วิธีการต่อทาบไม่น้อยกว่า 40 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางและใช้ลวดผูกเหล็กผูกบิดให้แน่น
5.3 ขั้นตอนใส่เหล็กเสริม ให้หย่อนกรงเหล็กให้อยู่ตรงกลางของรูเจาะจนถึงระดับที่ต้องการ และยึดให้แน่นหนา เพื่อที่ขณะเทคอนกรีตกรงเหล็กจะไม่ขยับเขยื้อน


 
6.วิธีการเทคอนกรีต
 
6.1 คอนกรีตที่ใช้จะต้องเป็นคอนกรีตผสมหน้างาน หรือคอนกรีตผสมเสร็จ ( READY MIX ) ที่มีกำลังอัดประลัยที่ 28 วัน เมื่อทดสอบโดยแท่งทรงกระบอกขนาด 15 x 30 ซม. ( cylinder ) ไม่น้อยกว่า 210 กก/ซม3 ซีเมนต์ที่ใช้เป็นซีเมนต์ปอร์มแลนด์ ประเภท 1 และใช้ความยุบของคอนกรีตประมาณ 8-12 ซม. เพื่อให้คอนกรีตเกิดการอัดแน่นด้วยตัวเองเมื่อเทลงรูเจาะไปแล้ว
6.2 วิธีเทคอนกรีต เมื่อรูเจาะได้รับการตรวจสอบและอนุมัติให้เทคอนกรีตได้ จะรีบทำการเทคอนกรีตทันทีเพื่อไม่ให้รูเจาะอ่อนตัวหรือกระทบความชื้นในอากาศนานเกินไปจนสูญเสียแรงเฉือนได้ การเทคอนกรีตจะเทผ่านกรวย ปลายกรวยเป็นท่อขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 15 ซม. ยาว 3.0 เมตร คอนกรีตจะหล่นลงตรง ๆ โดยไม่ปะทะผนังรูเจาะหรือกรงเหล็กจะช่วยลดการแยกตัวของคอนกรีต
6.3 ขั้นตอน วิธีทำให้คอนกรีตแน่นมากยิ่งขึ้น เมื่อทำการเทคอนกรีตถึงระดับ -5.00 ถึง -3.00 จากระดับดินปัจจุบันจะทำการอัดลมเพื่อให้คอนกรีตอัดตัวแน่นมากขึ้น
 
7.ถอดปลอกเหล็กชั่วคราว
 
เมื่อเทคอนกรีตให้มีระดับสูงกว่าปลอกเหล็กชั่วคราวพอสมควรแล้ว จึงจะเริ่มถอดปลอกเหล็กขึ้น โดยปกติขณะถอดปลอกเหล็กจะต้องให้มีคอนกรีตอยู่ภายในปลอกเหล็กไม่น้อยกว่า 3 เมตร เพื่อเป็นการป้องกันมิให้ชั้นดินอ่อนบีบตัว ก็จะทำให้ขนาดเสาเข็มเจาะเปลี่ยนไป และเป็นการป้องกันมิให้น้ำใต้ดินไหลซึมเข้ามาในรูเจาะก่อนที่จะถอดปลอกเหล็กชั่วคราวออกหมด จะต้องเติมคอนกรีตให้มีประมาณเพียงพอและเผื่อคอนกรีตให้สูงกว่าระดับที่ต้องการประมาณ 30-75 ซม. ในกรณีที่หัวเสาเข็มอยู่ต่ำจากระดับดินปัจจุบัน เพื่อป้องกันมิให้หัวเข็มที่ระดับที่ต้องการสกปรกเนื่องจากวัสดุหรือเศษดินร่วงหล่นลงไป ภายหลังการถอดปลอกเหล็กออกหมดแล้วนั่นเอง
 
8.บันทึกรายงาน หรือREPORTเสาเข็ม
 
บันทึกรายงานการทำเสาเข็มเจาะ
1. หมายเลขบ่งกำกับเสาเข็มแต่ละต้น
2. วันเวลาที่เจาะ ตลอดจนเวลาแล้วเสร็จ เวลาเริ่มเทคอนกรีต เวลาถอนท่อเหล็กชั่วคราวจนแล้วเสร็จ
3. ระดับดิน ระดับตัดหัวเข็ม ระดับความลึกปลายเสาเข็ม ความยาวของท่อเหล็ก ปลอกชั่วคราว
4. ความคลาดเคลื่อนของศูนย์เข็ม และระยะเบี่ยงเบนของเสาเข็มในแนวดิ่ง
5. รายละเอียดของชั้นดินที่เจาะลงไป
6. รายงานเหล็กเสริมในเสาเข็ม และปริมาณคอนกรีต
7. อุปสรรที่เกิดขึ้น หรือเหตุผิดปกติต่าง ๆ
8. ค่าวินิจฉัย สั่งการ ของเจ้าหน้าที่อาคาร , วิศวกรผู้ออกแบบ , ผู้ควบคุมงานของเสาเข็มแต่ละต้น


เข็มเจาะเขตคันนายาว
เข็มเจาะคันนายาว
เข็มเจาะรามอินทรา



Engine by shopup.com